Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12750
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
dc.contributor.authorทิพย์วิฑูรย์ บุญเป็งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-13T07:25:26Z-
dc.date.available2024-09-13T07:25:26Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12750-
dc.description.abstractการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือดเพื่อเป็นการรักษาผู้ป่วยถึงแม้ว่าจะมีประโยชน์ ต่อผู้ป่วยอย่างมาก แต่อาจมีอันตรายหากบุคลากรทางการแพทย์ไม่ระมัดระวังอย่างเพียงพอจาก อุบัติการณ์ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นประกอบกับโรงพยาบาลแม่วางยังไม่มีแนวทางการปฏิบัติงานในการ ให้เลือดของโรงพยาบาล การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำคู่มือความปลอดภัยในการ ให้เลือดของโรงพยาบาลแม่วางจังหวัดเชียงใหม่ วิธีการศึกษา เริ่มจากการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือดจากมาตรฐานงานธนาคารเลือดและงานบริการโลหิต แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยของโลหิต หนังสือ คู่มือ เอกสาร และฐานข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต เพื่อจัดทาร่างคู่มือความปลอดภัยในการให้เลือด แล้วมีการประเมินความถูกต้องและครบถ้วนของคู่มือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งประกอบด้วยแพทย์ พยาบาล และนักเทคนิคการแพทย์ ภายหลังการปรับแก้ไขคู่มือตามคาแนะนาของผู้ทรงคุณวุฒิได้ทดลองใช้คู่มือกับผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือดจานวน5 คน เป็นระยะเวลา 1 เดือน และทาการประเมินความคิดเห็นต่อการใช้งานคู่มือดังกล่าว ผลการศึกษา พบว่าคู่มือความปลอดภัยในการให้เลือดโรงพยาบาลแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย ส่วนบทนา และส่วนเนื้อหา ซึ่งมีจานวน 7 บท ได้แก่ 1) เลือดและส่วนประกอบของเลือด 2) การจัดเก็บสิ่งส่งตรวจ 3) การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 4) การรับ จ่าย และขนส่งเลือด 5) การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด 6) การสังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการรับเลือด 7) แนวปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการรับเลือด ผลการประเมินความถูกต้อง ครบถ้วนของคู่มือโดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 คน ทุกหัวข้ออยู่ในระดับมีความเหมาะสมมากที่สุด ส่วนการประเมินความคิดเห็นต่อการใช้งานคู่มือโดยบุคลากรจานวน 15 คน ภายหลังการทดลองใช้ 1 เดือน พบว่าผลการประเมินอยู่ในระดับมีความเหมาะสมมากและมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการถ่ายเลือดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาลth_TH
dc.titleคู่มือความปลอดภัยในการให้เลือดโรงพยาบาลแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeManual on blood transfusion safety in Maewang Hospital, Chiang Mai Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeBlood and blood component transfusions are used to treat patients. Even though blood component therapy is beneficial for patients, errors in such treatment may lead to serious negative consequences for the recipient if the medical personnel do not take adequate precautions. As Maewang Hospital did not have a blood transfusion guideline, this study was thus carried out to prepare a “Manual on Blood Transfusion Safety in Maewang Hospital, Chiang Mai Province”. The manual drafting involved literature reviewed on standards for a blood bank and transfusion services, guidelines for hemovigilance, and other related books, manuals, documents and online databases. The draft manual content was approved and validated by three experts consisting of a clinician, a nurse and a medical technologist. After revision, the manual was tried out by 15 medical personnel who worked on blood transfusion for 1 month; and then the manual was evaluated. The study resulted: the prepared “ Manual on Blood Transfusion Safety in Maewang Hospital, Chiang Mai Province” consisted of 2 parts: introduction and content. The content part contained seven sections, namely: 1) Blood and blood components; 2) Specimen collection; 3) Laboratory investigation; 4) Receipt, dispensing and transportation of blood; 5) Blood transfusion; 6) Complications of blood transfusion; and 7) Transfusion reaction investigation. An evaluation of the manual’s correctness and completeness undertaken by three experts shows that the manual is most appropriate. And after using the manual for 1 month, the 15 medical personnel indicated that the manual’s levels of correctness and completeness are high and highesten_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_158537.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons