Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12812
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารี ชีวเกษมสุข | th_TH |
dc.contributor.author | เกษร ตาปัญญา | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-23T08:10:23Z | - |
dc.date.available | 2024-09-23T08:10:23Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12812 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษา วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง และ 2) ศึกษาแนวทางการพัฒนา วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วย ประชากรที่ศึกษา เป็นสมาชิกทีมสุขภาพ จำนวน 52 คน ได้แก่ แพทย์ 3 คน ทันตแพทย์ 2 คน เภสัชกร 4 คน พยาบาลวิชาชีพ 36 คน นักเทคนิคการแพทย์ 3 คน นักรังสีการแพทย์ 1 คน นักกายภาพบำบัด 1 คน นักกิจกรรมบำบัด 1 คน และแพทย์แผนไทย 1 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การศึกษาแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วย และ 3) แนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วย เครื่องมือที่ใช้ศึกษาผ่านการหาความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน วิเคราะห์ความเที่ยงด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามส่วนที่ 2 และ 3 เท่ากับ 0.89 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดย คำนวณด้วยสถิติเชิงพรรณนา (ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) ผลการศึกษามีดังนี้ 1) วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพยาบาล มีค่าเฉลี่ย โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง เรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ (1) วัฒนธรรมการเรียนรู้ความปลอดภัยของหน่วยงาน (2) การสื่อสารอย่างเปิดเผยโดยไม่ตัดสินผู้ผิด (3) ผู้บริหารองค์กรสนับสนุนความปลอดภัยของผู้ป่วย (4) การติดตามอุบัติการณ์ (5) การนิเทศงานด้านความปลอดภัย และ (6) การสื่อสารอย่างเปิดเผยถึงผลกระทบจากการทำงานผิดพลาด และ 2) แนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพยาบาล โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วย--บริการทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วย--การดูแล | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาล | th_TH |
dc.title | วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง | th_TH |
dc.title.alternative | Culture of patient safety at a community hospital / Culture of patient safety at a community hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this independent study were: 1) to explore the culture of patient safety in a community hospital and 2) to investigate the guidelines for improving the culture of patient safety. The population comprised 52 healthcare members in the community hospital including 3 physicians, 2 dentists, 4 pharmacists, 36 registered nurses, 3 medical technicians, 1 radiographer, 1 physical 1 therapist, 1 occupational therapist, and 1 Thai traditional medicine. The study tool consisted of 3 parts: 1) demographic data, 2) the culture of patient safety, and 3) the guidelines for improving the culture of patient safety. The tool was verified by three experts. The reliabilities of the second and the third part which were analyzed by Cronbach’s alpha coefficient were 0.89 and 0.95 respectively. Research data were analyzed by descriptive statistics.The results were as follows. 1) Total and subscales of the culture of patient safety in the community hospital was rated at the moderate level in the following raking. (1) Each unit learns culture of patient safety. (2) Transparent communication is established, and do not judge anybody for being false. (3) Administrators of the organization support patient safety. (4) Incidences were followed. (5) Supervision for patient safety was done. Finally, (6) transparent communication of job errors or mistakes was employed. 2) Overall and subscales of guidelines for improving culture of patient safety were rated at the moderate level | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_155665.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License