Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12818
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ปิ่นเฉลียวth_TH
dc.contributor.authorแสงเดือน นิยมจิตร์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-09-25T06:35:45Z-
dc.date.available2024-09-25T06:35:45Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12818en_US
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการป้องกันการติดเชื้อที่สะดือทารกแรกเกิด โรงพยาบาลพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ 2) ประเมินความพึงพอใจของพยาบาลและมารดาทารกแรกเกิดที่มีต่อรูปแบบการป้องกันการติดเชื้อที่สะดือทารกแรกเกิดโรงพยาบาลพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี การวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะได้แก่ 1) ศึกษาสถานการณ์การป้องกันการติดเชื้อที่สะดือทารกแรกเกิด 2) พัฒนารูปแบบการป้องกันการติดเชื้อที่สะดือทารกแรกเกิด 3) ประเมินผลการนำรูปแบบไปใช้ในการป้องกันการติดเชื้อที่สะดือทารกแรกเกิด โดยทดลองใช้ในกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานที่หอผู้ป่วยในและห้องคลอดจำนวน 26 คน และมารดาทารกแรกเกิดที่มาคลอดระหว่าง เดือน มกราคม - เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แบบประเมินความพึงพอใจของพยาบาลและ 2) แบบประเมินความพึงพอใจของมารดาทารกแรกเกิด ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน และ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.80 และ 0.80 ตามลำดับวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์ เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า 1) รูปแบบการการป้องกันการติดเชื้อที่สะดือทารกแรกเกิดที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย แนวทางการเฝ้าระวังการติดเชื้อ แนวปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อที่สะดือทารกแรกเกิด 2) ความพึงพอใจของพยาบาลและมารดาทารกแรกเกิดต่อรูปแบบการป้องกันการติดเชื้อที่สะดือทารกแรกเกิดโดยรวมอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.subjectทารกแรกเกิด--การดูแลและสุขวิทยาth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการป้องกันการติดเชื้อที่สะดือทารกแรกเกิดโรงพยาบาลพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a prevention model for neonatal omphalitis at Phraseang hospital Surat Thanee [i.e.Thani] Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: 1) to develop a prevention model for neonatal Omphalitis at Phraseang Hospital in Surat Thani Province and 2) to evaluate the satisfaction of nurses and newborns’ mothers with the model . The research process was divided into 3 phases. 1) A situation analysis the prevention for neonatal omphalitis. 2) The prevention model for neonatal omphalitis was developed. 3) The prevention model for neonatal omphalitis was implemented and evaluated. The sample included two groups: Twenty-six nurses worked at the In-patient ward and delivery room and thirty neonate’s mothers who delivered at Phraseang Hospital in Surat Thani province during January - February 2014. The collecting data tools comprised two satisfaction forms, nurses and mothers, on the prevention model for neonatal omphalitis. The content validity of these tools was verified by 5 experts. The cronbach alpha coefficients of these questionnaires were 0.80 and 0.80 respectively. Qualitative data were analyzed by content analysis; whereas, quantitative data were analyzed by frequency, percentage, mean, and standard deviation. The research results found as follows: 1) The prevention model for neonatal omphalitis consisted of guidelines for surveillance of infection control and guidelines for prevention of the neonatal omphalitis. 2) Both nurses and newborns’ mothers were satisfied with the prevention model of neonatal omphalitis at the high level.en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_140183.pdfFullText_14018315.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons