Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12838
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมโภช รติโอฬาร | th_TH |
dc.contributor.author | ทิฏฐานุรี พาโอภาส, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-30T06:47:13Z | - |
dc.date.available | 2024-09-30T06:47:13Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12838 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน และสถานภาพในชุมชน (2) ความรู้ในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน (3) พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้ในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน กับพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนประชากรที่ศึกษา คือ ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่หมู่ที่ 9 เทศบาลตำบลปากน้ำชุมพร อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ที่มีบทบาทหลักในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ครัวเรือนละ 1 คน ทั้งหมด 471 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ด้านความรู้ใช้ข้อคำถามที่มีค่าความยากง่ายที่ยอมรับ อยู่ในช่วงระหว่าง 0.30-0.8 0 และค่าอำนาจจำแนกมีค่า ระหว่าง 0.20 ถึง 0.60 ด้านทัศนคติและพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค 0.73 และ 0.77 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแคว์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า (1) ประชาชนที่มีหน้าที่หลักในการจัดการขยะในครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง ร้อยละ 64.3 อายุมากที่สุด 40-49 ปี ร้อยละ 23 ระดับการศึกษาสูงสุดระดับชั้นประถมศึกษา ร้อยละ 53.3 ด้านอาชีพมากที่สุดคือ อาชีพรับจ้างร้อยละ 46.5 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนพบมากที่สุด 5,001 - 10,000 บาท ต่อเดือนร้อยละ 51.0 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชนมากที่สุด 41 ปีขึ้นไปร้อยละ 31.8 ด้านสถานภาพในชุมชนส่วนใหญ่เป็นประชาชนทั่วไปร้อยละ 93 (2) ประชากรที่ศึกษามีระดับความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนส่วนใหญ่ร้อยละ 50.7ระดับปานกลาง (3) พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 84.1 ระดับปานกลาง และ (4) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน พบว่า ความรู้ในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับค่อนข้างต่ำ (Is = 0.172) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ขยะ--การจัดการ--ไทย--ชุมพร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน หมู่ที่ 9 เทศบาลตำบลปากน้ำชุมพร อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร | th_TH |
dc.title.alternative | Behaviors of people in household solid waste management in community no.9 of Paknam Chumphon Subdistrict Municipality in Mueang District, Chumphon Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this descriptive study were: (1) to identify personal characteristies, includingg gender, age, education, occupation, income, time period of residence in community and status in community; (2) to determine the knowledge levels of people's household solid waste management; (3) to identify people's behaviors in household solid waste management; and (4) to determine relationships between personal factors as well as knowledge of household waste management and household waste management behaviours, all of residents in community No. 9 of Paknam Chumphon Subdistrict Municipality, Mueang district, Chumphon province. The study was conducted among 471 residents aged 15 years and over (one from each household) actually residing in the community and handling household solid waste management. Data were collected using a questionnaire with a difficulty index of 0.30-0.80, a discrimination index of 0.20-0.60, and Cronbach's alpha coefficients for attitude and behavior of household waste management of 0.73 and 0.77, respectively. Data were analyzed to determine frequency, percentage, average, standard deviation, chi-square test value and Spearman correlation coefficient. The results showed that, of all respondents who handled household waste management: (1) 64.3% were female; 23% were 40-49 years old; 53.3% had completed primary schooling; 46.5% worked as employees; 51% had a monthly income of 5,001- 1,0000 baht; 31.8% had been living in the community for 41 years or more; and 93% were general community members; (2) 50.7% had a moderate level of knowledge about household solid waste management; (3) 84.1% had a moderate level of behaviors related to household solid waste management; and (4) their knowledge of household solid waste management was positively and significantly correlated with their solid waste management behaviors (rs= 0.172; p =< 0.001) | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_154879.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License