Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12855
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารยา ประเสริฐชัย | th_TH |
dc.contributor.author | พัชรินทร์ อินต๊ะวงศ์, 2527- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-30T08:08:38Z | - |
dc.date.available | 2024-09-30T08:08:38Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12855 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจ แบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะบุคคลและภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ (2) ความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ และ (3) ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลและภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุในอำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในอำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง อย่างน้อย 6 เดือน สามารถรับรู้และสื่อสารได้ คำนวณกลุ่มตัวอย่างได้ จำนวน 305 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ทดสอบความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.68-0.72 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย หาความสัมพันธ์ ด้วยสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 70.85 ปี สถานภาพสมรสคู่ การศึกษาสูงสุดระดับประถมศึกษา อาชีพเกษตรกรรม รายได้เฉลี่ยต่อเดือนน้อยกว่า 1,500 บาท มีโรคประจำตัว โรคความดันโลหิตสูง ภาวะ โภชนาการปกติ มีพฤติกรรมออกกำลังกาย แบบเดิน พฤติกรรมไม่สูบบุหรี่ พฤติกรรมไม่ดื่มสุรา พฤติกรรมการขับถ่ายทุกวัน พฤติกรรมการพักผ่อนนอนหลับกลางคืน คืนละ 7-8 ชั่วโมง ประวัติการหกล้ม ไม่เคยหกล้ม และไม่มีปัญหาการปัสสาวะกลางดึก การรับรู้ภาวะสุขภาพ พบว่า การรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ความรุนแรง การรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้อุปสรรคอยู่ในระดับดี 2) ความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ และ3) ลักษณะส่วนบุคคล (อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ) พฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการและปัญหาปัสสาวะ มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุอำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ข้อเสนอแนะของการวิจัย เจ้าหน้าที่สาธารณสุขควรให้คำแนะนำแก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้านโภชนาการ โดยเน้นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ--สุขภาพและอนามัย | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to self-care ability among the Elderly in La-un District, Ranong Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The aim of this cross-sectional survey research was to study: (1) personal characteristics and health status of the elderly; (2) self-care ability of the elderly; and (3) the relationship between general characteristics as well as health status and self-care ability of the elderly in La-un District, Ranong province. The study population was elderly persons aged 60 or more who had been living in La-un District for at least 6 months and could recognize and communicate with other people. The sample size was 350 elderly persons. Data were collected by using an interviewquestionnaire that had a reliability value of 0.68-0.72, and analyzed to determine frequency, percentage, average and chi-square value for relationship. The results showed that: (1) the elderly, mostly married females, were 70.85 years old on average, had completed primary school, worked as farmers, and had an average monthly income of less than 1,500 baht. Most of them had some chronic illnesses including hypertension, but their nutritional status was normal; they exercised by walking regularly, neither smoked nor drank, could defecate normally, slept for 7-8 hours each night, and had no history of falling or urination problem at; night. Their perceptions of risks, violence, benefits and obstacles were at a good level. (2) regarding self-care abilities, most of them could perform daily activities; and (3) their personal characteristics (age, marital status, occupation, nutritional behaviors and urination problems) were significantly associated with self-care ability at the 0.05 level. As for recommendations, health officials concerned should provide guidance to the elderly and caretakers about health care and nutritional practice, focusing on eating nutritious foods as appropriate for the elderly. | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_147736.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License