Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12857
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมโภช รติโอฬาร | th_TH |
dc.contributor.author | พิสมัย ศรีทำนา, 2513- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-30T08:16:45Z | - |
dc.date.available | 2024-09-30T08:16:45Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12857 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประสิทธิผลการเฝ้าระวังทันตสุขภาพเด็กในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเชี่ยวชาญ (2) ความรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญด้านทันตสาธารณสุขในเรื่องเกี่ยวกับทันตสุขภาพ 5 ด้าน และ(3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการเฝ้าระวังทันตสุขภาพเด็กในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเชี่ยวชาญ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เชี่ยวชาญด้านทันตสาธารณสุขในตำบลท่าตูม อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม จำนวนทั้งสิ้น 100 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยง 0.766 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน การทดสอบไคแสควร์ และการทดสอบฟิส เชอร์แอคแซกท์ ผลการศึกษา (1)ประสิทธิผลการเฝ้าระวังทันตสุขภาพเด็กในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเชี่ยวชาญ พบว่าภาพรวมมีประสิทธิผลโดยรวมอยู่ในระดับสูง (2) ปัจจัยด้านความรู้ พบว่าส่วนใหญ่มีความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับทันตสุขภาพอยู่ในระดับสูง ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านอวัยวะในช่องปาก ด้านโรคในช่องปาก ด้านการดูแลสุขภาพช่องปาก ด้านการถ่ายทอดความรู้ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้ ด้านให้คำปรึกษาเบื้องต้นและพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาพช่องปาก และ (3) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลการเฝ้าระวังทันตสุขภาพเด็กในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเชี่ยวชาญ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด และ ความรู้ด้านทันตสุขภาพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | เด็ก -- การดูแลทันตสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | การดูแลทันตสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | ทันตกรรมชุมชน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | ประสิทธิผลการเฝ้าระวังทันตสุขภาพเด็กในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเชี่ยวชาญ ตำบลท่าตูม อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม | th_TH |
dc.title.alternative | Effectiveness of dental health surveillance in children by village health volunteer experts in Tha tum District Mueang Mahasarakham Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this descriptive study were to investigate: (1) effectiveness of the dental health surveillance in children by village health volunteer experts; (2) knowledge on 5 perspectives of dental health among village health volunteer experts; and (3) factors related to the effectiveness of the dental health surveillance in children by village health volunteer experts. The study population was 100 village health volunteers, expertizing in dental health in Tha tum District Mueang Mahasarakham Province. Data collection was done by with a Cronbach's alpha of 0.766. Statistical analyses were percentage, mean, standard deviation, Pearson correlation coefficient, Chi square and Fisher's exact test. The results revealed that: (1) the effectiveness of the dental health surveillance by village health volunteers was high; (2) for the knowledge factor, it was found that the health volunteers had a high level of dental health knowledge on 5 perspectives, including oral cavity, oral diseases, oral health care, knowledge transfer using various media, ability to give basic consultation and behavior affecting oral health; and (3) the factors significantly related to the effectiveness of the dental health surveillance were age, level of education, and knowledge of dental health (p<0.05). | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_146052.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License