Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12883
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐพร เห็นเจริญเลิศth_TH
dc.contributor.authorปรัชญารัก เวียงสงค์, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-10-04T08:24:27Z-
dc.date.available2024-10-04T08:24:27Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12883en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์และคัดเลือกคุณลักษณะสำคัญที่สัมพันธ์กับการสมัครเรียนของนักศึกษาใหม่ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 2) เพื่อสร้างแบบจำลองและประเมินประสิทธิภาพในการวิเคราะห์เชิงทำนายการสมัครเรียนของนักศึกษาใหม่ด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ข้อมูลการศึกษาประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของผู้สมัครได้แก่ ปีที่สมัคร เพศ เกรดเฉลี่ยอาชีพบิดามารดา สาขาที่สมัครและข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง จำนวนทั้งหมด 17 คุณลักษณะมาหาค่าความสำคัญและคัดเลือกคุณลักษณะสำคัญด้วยวิธี Information Gain จากนั้นนำคุณลักษณะมาสร้างแบบจำลองด้วยเทคนิคต้นไม้ตัดสินใจ เทคนิคนาอีฟเบย์และเทคนิคป่าสุ่ม และลดจำนวนคุณลักษณะที่มีค่าความสำคัญน้อยลงให้คงเหลือจำนวนคุณลักษณะที่สำคัญและสัมพันธ์กับการสมัครมากที่สุด นำวัดประสิทธิภาพแบบจำลองทั้งหมดด้วยวิธี 5-fold Cross Validation วิธี 10-fold Cross Validation วิธี Split Validation (70:30) และวิธี Split Validation (80:20) เพื่อประเมินประสิทธิภาพแบบจำลองด้วยเทคนิคต่าง ๆ โดยใช้โปรแกรม RapidMiner ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะที่มีค่ามากที่สุด 5 คุณลักษณะคือ แผนการเรียนที่จบจากระดับมัธยม มีค่าน้ำหนักสูงสุดที่ 0.522 รองลงมากคือ เกรดเฉลี่ยมีค่าน้ำหนักที่ 0.290 เพศ มีค่าน้ำหนักที่ 0.207 อาชีพผู้ปกครองมีค่าน้ำหนักที่ 0.056 อาชีพมารดามีค่าน้ำหนักที่ 0.055 2) แบบจำลองด้วยเทคนิคป่าสุ่มมีความเหมาะสมมากที่สุด มีค่าความถูกต้องคิดเป็นร้อยละ 75.84 มีค่าความแม่นยำในการทำนายคิดเป็นร้อยละ 76.01 มีค่าความครบถ้วนคิดเป็นร้อยละ 75.71 และมีค่าความถ่วงดุลหรือค่าประสิทธิภาพโดยรวมคิดเป็นร้อยละ 75.85th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเหมืองข้อมูลth_TH
dc.titleการวิเคราะห์เชิงทำนายการสมัครเรียนของนักศึกษาใหม่ด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativePredictive analytics for new student application using data mining techniques in Faculty of Education of Chiang Mai Rajabhat Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.description.abstractalternativeThe study's goals were 1) to analyze and select the key features related to the application of new students at Chiang Mai Rajabhat University's Faculty of Education; 2) to create a model and assess the predictive behavior of new students using data mining at Chiang Mai Rajabhat University's Faculty of Education. The study’s information included the application’s basic information such as the years of application, gender, average grade, parent's occupation, application documents, and other related information. 17 Features were selected for the key features and best feature values by the Information Gain method to create a model of Decision Tree, Naive Bayes, and Random Forest then reduced the number of less important features, leaving only the most important and relevant to the application. After that, the model's efficiency was assessed using 5-fold Cross Validation, 10-fold Cross Validation, Split Validation (70:30), and Split Validation (80:20). The model performance was validated using a variety of techniques by the RapidMiner program. According to the study, 1) the five most valuable features were a high school graduation plan with a maximum weight of 0.522, the second most common grade with a weight of 0.290, gender with a weight of 0.207, parent's occupation with a weight of 0.056, and mother's occupation with a weight of 0.055. 2) The best fit model was the Random Forest technique which had an accuracy of 75.84%. The prediction accuracy (precision) was 76.01%. There was a recall value of 75.71% and an overall efficiency (F-measure) was 75.85%en_US
dc.contributor.coadvisorวรัญญา ปุณณวัฒน์th_TH
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons