Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12940
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
dc.contributor.authorสุปรียา สัมฤทธิ์วงศ์, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-11-11T07:25:31Z-
dc.date.available2024-11-11T07:25:31Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12940-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (วิทยาศาสตร์สุขภาพ))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับภาวะหมดไฟในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลนครปฐม (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านองค์การ และปัจจัยเกี่ยวกับการทำงาน (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านองค์การ และปัจจัยเกี่ยวกับการทำงานกับภาวะหมดไฟในการทำงาน และ (4) อิทธิพลของปัจจัยดังกล่าวในการทำนายภาวะหมดไฟในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลนครปฐมประชากรที่ศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพของโรงพยาบาลนครปฐมที่ทำงานอย่างน้อย 1 ปีจำนวน 675 คน กลุ่มตัวอย่าง 110 คน ได้จากการสุ่มอย่างเป็นระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.79-0.95 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบไคสแควร์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า (1) ภาวะหมดไฟในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลนครปฐมโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้น ด้านความรู้สึกไม่ประสบความสำเร็จในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูง (2) ปัจจัยส่วนบุคคลพบว่ามีอายุเฉลี่ย 39.81 ปี สถานภาพโสดมากที่สุดมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานน้อยกว่า 5 ปี ปฏิบัติงานต่อสัปดาห์มากกว่า 40 ชั่วโมง และอยู่เวรบ่าย-ดึกมากที่สุด ปัจจัยด้านองค์การโดยรวมอยู่ในระดับมาก และปัจจัยเกี่ยวกับทำงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน สถานภาพสมรส ปัจจัยด้านองค์การในประเด็นสัมพันธภาพ บทบาท และการพัฒนาอาชีพ ส่วนปัจจัยเกี่ยวกับการทำงานด้านภาระงานและด้านลักษณะงาน มีความสัมพันธ์กับภาวะหมดไฟในการทำงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและ (4) ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ลักษณะงาน และการพัฒนาอาชีพ มีอิทธิพลทางลบต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลนครปฐม โดยร่วมกันทำนายได้ร้อยละ 42.3th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectพยาบาล--ไทย--ความเครียดในการทำงานth_TH
dc.subjectพยาบาล--ไทย--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--ความพอใจในการทำงาน--ไทย--นครปฐมth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting job burnout among registered nurses in Nakhonpathom Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this survey research were to study (1) the levels of job burnout, (2) personal factors, organizational factors and work-related factors, (3) relationships between personal, organizational and work-related factors, and job burnout, and (4) influence of those factors on job burnout, all among registered nurses (RNs) at Nakhonpathom Hospital. The study involved a sample of 110 RNs systematically, randomly selected from all 675 RNs at the hospital who had worked there for at least one year. The research tool was a questionnaire with the reliability coefficient of 0.79 to 0.95. Data were collected and then analyzed to determine percentage, mean, standard deviation, chi-square value, Pearson's correlation coefficient and multiple regression value. The results showed that, among the 110 respondents: (1) their overall and each aspect levels of job burnout were moderate, except that the job burnout level due to work not achieved was high; (2) their personal factors included the mean age of 39.81 years, having been not married, working tenure less than 5 years, more than 40 hours of work per week, and mostly working on evening and night shifts; their overall organizational factor was at the high level and work-related factors at the moderate level; (3) their personal factors (age, job tenure, and marital status), organizational factors (work relationship, role and career development), work-related factors (workload and job characteristics) were significantly correlated with burnout; and (4) job tenure, job characteristics and career development showed a negative influence on their burnout with 42.3% predictive efficiencyen_US
dc.contributor.coadvisorพรทิพย์ กีระพงษ์th_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdf14.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons