Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12993
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีระวุธ ธรรมกุล | th_TH |
dc.contributor.author | พัชราพร หัตถิยา, 2537- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-06T06:33:27Z | - |
dc.date.available | 2025-01-06T06:33:27Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12993 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2565 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม และพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ และ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพของประชาชนเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช การวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวางนี้ศึกษาในประชาชนเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 155,965 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 766 คน ได้จากการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างแบบทราบขนาด ประชากรและใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 5 ส่วน คือ 1) ลักษณะส่วนบุคคล 2) ปัจจัยนำ 3) ปัจจัยเอื้อ 4) ปัจจัยเสริม และ 5) พฤติกรรมการใช้สมุนไพร มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.88, 0.82, 0.76, 0.80 และ 0.82 ตามลำดับ เก็บข้อมูลในเดือนกันยายน 2565 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า (1) ด้านปัจจัยนำ พบว่า ความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเองอยู่ในระดับควรปรับปรุง ทัศนคติเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเองอยู่ในระดับปานกลาง การรับรู้ประโยชน์เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเองอยู่ในระดับปานกลาง ด้านปัจจัยเอื้อ พบว่า ช่องทางในการได้มาซึ่งสมุนไพรอยู่ในระดับสูง ค่าใช้จ่ายหรือราคาของสมุนไพรอยู่ในระดับสูง รูปแบบที่เอื้อต่อการใช้สมุนไพรอยู่ในระดับสูง ด้านปัจจัยเสริม พบว่า การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในการใช้สมุนไพรอยู่ในระดับปานกลาง การเปิดรับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ อยู่ในระดับปานกลาง และพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเองอยู่ในระดับปานกลาง และ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพของประชาชน ได้แก่อายุ ประสบการณ์ใช้สมุนไพร ช่องทางในการได้มาซึ่งสมุนไพร ค่าใช้จ่ายหรือราคาของสมุนไพร การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในการใช้สมุนไพร และการเปิดรับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ โดยสามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพของประชาชน ได้ร้อยละ 23.0 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การรักษาด้วยสมุนไพร--ไทย--นครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.subject | การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง--ไทย--นครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพของประชาชน เขตอำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting herbal use behaviors for self-healthcare of people in Mueang Nakhon Si Thammarat District, Nakhon Si Thammarat Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to explore (1) predisposing factors, enabling factors, reinforcing factors and herbal use behaviors for self-healthcare and (2) factors related to herbal use behaviors for self-healthcare among the people in Mueang district, Nakhon Si Thammarat province.This cross-sectional study was conducted in a sample of 766 people selected using multi-stage sampling method from all 155,965 residents in Mueang district of the province. The sample size was calculated based on the known population. The instrument used in the study was a questionnaire consisting of five parts: 1) general information, 2) predisposing factors, 3) enabling factors, 4) reinforcing factors, and 5) herbal use behaviors, whose reliability’s Chronbach alpha values were 0.88, 0.82, 0.76, 0.80 and 0.82, respectively. Data were collected in September 2022 and then analyzed using descriptive statistics and multiple linear regression analysis. The results showed that, all related to the use of herbal remedies for self-healthcare: (1) the predisposing factor or knowledge was at a low level, the attitudes and perceived benefits were at a fair level, the enabling factors including place, price, product, promotion and pattern were at a high level, the reinforcing factors including community promotion and media exposure were at a fair level; and (2) factors related to herbal use behaviors among the people included age, herbal use experiences, place, price, product and herbal promotion, community promotion of herbal use and media exposure to such use; all of which could 23% predict the behaviors towards the use of herbal remedies for self-healthcare among the people. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อนัญญา ประดิษฐปรีชา | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License