Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12999
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ปิ่นเฉลียวth_TH
dc.contributor.authorศิริรัตน์ เพียขันทา, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-06T08:36:17Z-
dc.date.available2025-01-06T08:36:17Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12999en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของโปรแกรมส่งเสริมแรงจูงใจโดยการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต่อการรับรู้การป้องกันโรคและสัดส่วนการเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรี อำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีอายุ 30-60 ปี อาศัยอยู่ในอำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 50 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง 25 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 25 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมส่งเสริมแรงจูงใจโดยการมีส่วนร่วมของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรคของโรเจอร์ มีระยะเวลาดำเนินการ 6 สัปดาห์ 2) แบบสอบถามการรับรู้การป้องกันมะเร็งปากมดลูก มีค่าความ ตรงตามเนื้อหา เท่ากับ 91 และค่าความเที่ยงเท่ากับ .91 และ 3) แบบบันทึกการเข้ารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองคะแนนเฉลี่ยการรับรู้การป้องกันมะเร็งปากมดลูกของสตรีในกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนทดลอง และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และการเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของกลุ่มทดลอง (ร้อยละ 96) สูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ (ร้อยละ 64)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการตรวจคัดโรค--โปรแกรมกิจกรรมth_TH
dc.subjectปากมดลูก--มะเร็ง--การป้องกันth_TH
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมแรงจูงใจโดยการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต่อการรับรู้การป้องกันโรคและการมารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรี อำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeEffects of a motivation enhancing program with participation of public health volunteers on the perception of disease prevention and cervical cancer screening among women in Nong Ki District, Buri Ram Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต(การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental research was to study the effects of a motivation enhancing program with participation of public health volunteers on the perceptions of women in Nong Ki District, Buri Ram Province, about disease prevention and cervical cancer screening.The sample consisted of 50 women aged 30 to 60 who live in Nong Ki District, Buri Ram Province, and they were divided into the experimental group (25) and the comparative group (25). They were selected by the simple random sampling technique. The research instruments included: 1) a 6-week motivation enhancing program with the participation of public health volunteers, which was developed based on the protection motivation theory of Roger 2) a questionnaire on perception of cervical cancer prevention, the content validity index and reliability of which were both 0.91 and 3) a cervical cancer screening data recording form. Data were analyzed by descriptive statistics and t-test.The results revealed as follows: After attending the program, the perception of cervical cancer prevention in the experimental group was significantly higher than before attending the program and higher than the comparative group (p < .001), and the cervical cancer screening rate of the experimental group (96 percent) was higher than the comparative group (64 percent).en_US
dc.contributor.coadvisorทิพย์ฆัมพร เกษโกมลth_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons