Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13029
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | NAPHAT POSRI | en |
dc.contributor | ณพัชร โพธิ์ศรี | th |
dc.contributor.advisor | Walisa Romsaiyud | en |
dc.contributor.advisor | วฤษาย์ ร่มสายหยุด | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T07:59:07Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T07:59:07Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 22/3/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13029 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to: 1) develop a predictive model for cumulative blood sugar levels in type 2 diabetes patients; and 2) evaluate the effectiveness of the predictive model by collecting health record data from type 2 diabetes patients. The dataset comprises characteristics influencing cumulative blood sugar levels, categorized into general information, laboratory test results, and diabetes-related data, amounting to 28,431 health records and 37 features.The experimental results show that: 1) Building a machine learning model consists of six stages: (1) Data collection; (2) Data preparation involving Information Gain feature reduction, handling imbalanced data using SMOTE, and multi-class classification, resulting in a total of 45 methods; (3) Model development using Random Forest algorithm, (4) Model evaluation; (5) Hyperparameter tuning for optimal values; and (6) Application of the model for predicting cumulative blood sugar levels and assisting in decision-making regarding additional cumulative blood sugar level testing during follow-up. 2) The model evaluation results indicate accuracy, precision, recall, and F1 score of 81.89%, 82.13%, 81.89%, and 81.83%, respectively. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างแบบจำลองการพยากรณ์ระดับน้ำตาลสะสมในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ 2) ประเมินประสิทธิภาพแบบจำลองการพยากรณ์ระดับน้ำตาลสะสมในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โดยรวบรวมข้อมูลเวชระเบียนที่ส่งผลต่อระดับน้ำตาลสะสมในเลือด แบ่งออกเป็นข้อมูลทั่วไป ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ และข้อมูลโรคเบาหวาน จำนวน 28,431 เวชระเบียน 37 คุณลักษณะ จากนั้นสร้างและประเมินประสิทธิภาพแบบจำลอง ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า 1) การสร้างแบบจำลองการเรียนรู้ของเครื่อง ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน (1) การเก็บรวบรวมข้อมูล (2) การเตรียมข้อมูล โดยการคัดเลือกคุณลักษณะแบบ Information gain feature reduction การจัดการข้อมูลแบบไม่สมดุลด้วย SMOTE และการจำแนกประเภทหลายหมวดหมู่ที่แตกต่างกันทั้งหมด 45 วิธี (3) การสร้างแบบจำลองด้วยอัลกอริทึมป่าสุ่ม (4) การประเมินประสิทธิภาพแบบจำลอง (5) การปรับพารามิเตอร์เพื่อหาค่าที่เหมาะสมที่สุด และ (6) การนำแบบจำลองไปประยุกต์ใช้งานคาดการณ์ระดับน้ำตาลสะสมและนำมาประกอบการตัดสินใจเพื่อส่งตรวจติดตามระดับน้ำตาลสะสมในเลือดเพิ่มเติมจากปกติ และ 2) ผลการประเมินประสิทธิภาพพบว่า ร้อยละความถูกต้อง ความแม่นยำ ความครบถ้วน และประสิทธิภาพโดยรวม เท่ากับ 81.89, 82.13, 81.89, 81.83 ตามลำดับ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | การเรียนรู้ของเครื่อง | th |
dc.subject | การจำแนกประเภทหลายหมวดหมู่ | th |
dc.subject | อัลกอริทึมป่าสุ่ม | th |
dc.subject | โรคเบาหวานชนิดที่ 2 | th |
dc.subject | ระดับน้ำตาลสะสม | th |
dc.subject | Machine learning | en |
dc.subject | Multiclass classification | en |
dc.subject | Random forest | en |
dc.subject | Type 2 Diabetes | en |
dc.subject | Hemoglobin A1c | en |
dc.subject.classification | Computer Science | en |
dc.subject.classification | Medicine | en |
dc.subject.classification | Medicine | en |
dc.subject.classification | Professional, scientific and technical activities | en |
dc.subject.classification | Computer science | en |
dc.title | Machine Learning-Based Multiclass Classification for Predicting the Cumulative Blood Sugar Levels in Type 2 Diabetes Patient | en |
dc.title | การจำแนกประเภทหลายหมวดหมู่ด้วยการเรียนรู้ของเครื่องเพื่อพยากรณ์ระดับน้ำตาลสะสมในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Walisa Romsaiyud | en |
dc.contributor.coadvisor | วฤษาย์ ร่มสายหยุด | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Master of Scienec (Digital Technology) (M.Sc. (Digital Technology)) | en |
dc.description.degreename | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีดิจิทัล) (วท.ม. (เทคโนโลยีดิจิทัล)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Masrter of Science | en |
dc.description.degreediscipline | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th |
Appears in Collections: | Science Tech - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2659600064.pdf | 3.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.