Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13151
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์th_TH
dc.contributor.authorปรีชา แซ่อึ้งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:01Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:01Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13151en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษาของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3  และ 2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษาของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษาอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 จำนวน 293 คน ได้จากการเปิดตารางของเครจซี่และมอร์แกน  และสุ่มแบบชั้นภูมิตามประเภทวิชา เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับการจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษาของสถาบันการอาชีวศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 และแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษาของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาค่าเฉลี่ยต่ำสุด ดังนี้ การรับรองคุณภาพ  การผลิตและพัฒนากำลังคน การพัฒนาครูวิชาชีพ รูปแบบการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ  บริบทเชิงพื้นที่ที่เอื้อต่อการจัดการอาชีวศึกษา ความร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศ โครงสร้างพื้นฐาน ครุภัณฑ์/อุปกรณ์และสื่อการสอน และการเสริมสร้างสมรรถนะผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา  และ 2) แนวทางในการพัฒนาการจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา พบว่าผู้บริหารสถานศึกษาควรสำรวจความต้องการของสถานประกอบการ ส่งเสริมให้ครูพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ  กำหนดหลักสูตรฐานสมรรถนะที่ต้องการจากสถานประกอบการ สนับสนุนให้ผู้สอนจัดการเรียนการสอนให้ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและสถานประกอบการ พัฒนาครูวิชาชีพ พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย  และกำหนดมาตรฐานการทำงานร่วมกันของครูและบุคลากรในสถานศึกษาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงเรียนอาชีวศึกษา--ไทย (ภาคใต้)--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษาของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3th_TH
dc.title.alternativeGuidelines for developing educational institute management towards vocational education excellence of vocational Institutes in the Southern Region 3en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research sample consisted of 293 teachers in colleges under Vocational Institutes in the Southern Region 3, obtained by Krejci and Morgan Sample and random sampling based on subject type. The research instrument was a questionnaire on developing educational institute management level towards vocational education excellence of Vocational Institutes in the Southern Region 3 with a reliability of .98, and an interview form on guidelines for developing educational institute management towards vocational education excellence. Research data were analyzed with the use of the percentage, mean, standard deviation, and content analysis.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2632300311.pdf4.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.