Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13157
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กุลชลี จงเจริญ | th_TH |
dc.contributor.author | ชาตรี จริตงาม | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:25:03Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:25:03Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13157 | en_US |
dc.description | การศึกษาเฉพาะกรณี (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร และ (2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร จำแนกตามประสบการณ์การสอนและขนาดของสถานศึกษากลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร จำนวน 340 คน ได้มาโดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน จากนั้นทำการสุ่มแบบชั้นภูมิตามขนาดสถานศึกษา แล้วจึงเลือกแบบการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของแอลเอสดีผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ที่มุ่งสู่นวัตกรรม การทำงานเป็นทีมและการมีส่วนร่วม การสนับสนุนและสร้างแรงจูงใจในเป้าหมายด้านนวัตกรรม การสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ การมีทักษะการคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม และการบริหารความเสี่ยง ตามลำดับ และ (2) การเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร จำแนกตามประสบการณ์การสอนและขนาดของสถานศึกษา ปรากฎดังนี้ (2.1) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามประสบการณ์การสอนของครูที่แตกต่างกันจะรับรู้เกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาไม่แตกต่างกัน และ (2.2) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามขนาดสถานศึกษาที่ครูปฏิบัติหน้าที่ในสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกันจะรับรู้เกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน | th_TH |
dc.title | ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร | th_TH |
dc.title.alternative | Innovative leadership of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Surat Thani Chumphon | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the innovative leadership level of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Surat Thani Chumphon; and (2) to compare the innovative leadership levels of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Surat Thani Chumphon as classified by teaching experience and school size.The research sample consisted of 340 teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office Surat Thani Chumphon, obtained by stratified random sampling based on school size and then simple random sampling. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The employed research tool was a rating scale questionnaire concerning innovative leadership of school administrator, with reliability coefficient of .93. Statistics employed for data analysis were the frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, one-way ANOVA, and LSD method of pairwise comparison.The research findings showed that (1) both the overall and specific aspects of innovative leadership of the school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Surat Thani Chumphon were rated at the high level; the specific aspects of innovative leadership could be ranked from top to bottom based on their rating means as follows: that of the determination of direction and strategies toward innovation, that of the working as a team and participation, that of the supports and creating of inspiration for innovative goals, that of the creation of the learning facilitating atmosphere, that of the possession of innovatively creative thinking skill, and that of the risks management, respectively; and (2) results of the comparison of innovative leadership levels of the school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Surat Thani Chumphon as classified by teaching experience and school size were as follows: (2.1) the teachers who had different teaching experiences did not have significantly different perceptions of the innovative leadership of the school administrators; and (2.2) the teachers who were teaching in schools of different sizes had significantly different perceptions of the innovative leadership of the school administrators at the .05 level of statistical significance. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2632300881.pdf | 2.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.