Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13206
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | NAPHAT SAKONG | en |
dc.contributor | นภัส สาฆ้อง | th |
dc.contributor.advisor | Manaphan Charnsilp | en |
dc.contributor.advisor | มนพันธ์ ชาญศิลป์ | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:25:26Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:25:26Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 27/5/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13206 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1) to study the level of management of learning organization of schools; and 2) to compare the level of management of learning organization of schools under Phetchabun Primary Educational Service Area Office 2 as classified by school size. The research sample consisted of 285 teachers in schools under Phetchabun Primary Educational Service Area Office 2 obtained by stratified random sampling based on school size. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The employed research tool was a rating scale questionnaire on management of learning organization, with reliability coefficient of .97. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that 1) both the overall and specific aspects of management of learning organization of the schools were rated at the high level; the specific aspects of management of learning organization could be ranked from top to bottom based on their rating means as follows: the knowledge management; the application of technology; the transformation of organization; the empowering of the organization members; and the learning dynamics, respectively; and 2) schools of different sizes did not significantly differ in their levels of management of learning organization. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา และ 2) เปรียบเทียบการบริหารองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 จำแนกตามขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 จำนวน 285 คน ได้มาโดยการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน จากนั้นใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับการบริหารองค์การแห่งการเรียนรู้ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ การจัดการความรู้ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี การปรับเปลี่ยนองค์การ การเอื้ออำนาจให้แก่สมาชิกในองค์การ และพลวัตรการเรียนรู้ ตามลำดับ และ 2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา จำแนกตามขนาดสถานศึกษา พบว่า การบริหารองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาขนาดแตกต่างกันไม่มีความแตกต่างกัน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | การบริหารองค์การแห่งการเรียนรู้ ประถมศึกษา | th |
dc.subject | Management of learning organization | en |
dc.subject | Primary education | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | Management of Learning Organization of Schools under Phetchabun Primary Educational Service Area office 2 | en |
dc.title | การบริหารองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Manaphan Charnsilp | en |
dc.contributor.coadvisor | มนพันธ์ ชาญศิลป์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Master of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description.degreename | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Master of Education (Educational Administration) | en |
dc.description.degreediscipline | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2642300780.pdf | 1.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.