Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13211
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSomphit Theekhapronen
dc.contributorสมพิศ ฑีฆะภรณ์th
dc.contributor.advisorSuttiwan Tuntirojanawongen
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์th
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:28Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:28Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued27/5/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13211-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study learning management to develop learners in the 21st Century of schools; 2) to compare the learning management to develop learners in the 21st Century of schools, as classified by school size; and 3) to propose guidelines for developing learning management to develop learners in the 21st Century for schools under Phichit Primary Educational Service Area Office 1.The research sample consisted of 275 teachers in schools under Phichit Primary Educational Service Area Office 1, obtained by Krejcie and Morgan Sample Size Table and stratified random sampling based on school size. The research instrument was a questionnaire on learning management to develop learners in the 21st century for schools with a reliability of .92 and an interview form on guidelines for developing learning management to develop learners in 21st Century of schools. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, one-way ANOVA, Fisher's Least Significant Difference method of pairwise comparison, and content analysis.The research findings revealed that 1) the overall and each aspect of learning management to developing learners in the 21st Century of schools were rated at the high level and the specific aspects could be ranked based on their rating means from the highest to the lowest as follows: curriculum, measurement and evaluation, learning management, teachers and personnel, and media, innovation, and technology; 2) regarding comparison results of learning management to developing learners in the 21st Century of schools, as classified by school size, it was found that the overall of learning management to developing learners in the 21st Century of schools was significantly different at the .05 level. Regarding pairwise comparison results, it was found that the small-sized schools were significantly different from the medium-sized and large-sized schools in all aspects at the .05 level; and 3) guidelines for developing learning management for the development of learners in the 21st century in schools by developing curriculum to suit the school context, according to the needs of the learners, parents, and community, promoting learning management design that is appropriated to the grade level and age of the learners with an emphasis on the learners as the main focus, changing the role of teacher from teaching to facilitating, arranging teachers to teach to match the majors according to knowledge and ability, encouraging teachers and personnel to attend training to increase experience in knowledge and method skills according to their needs, supporting the use of media, innovation, and technology in organizing learning activities to develop a variety of learners. Digital technology can be used to organize learning by measuring and evaluating various real conditions and using the results from the assessment to develop learning management.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา 2) เปรียบเทียบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาจำแนกตามขนาดสถานศึกษา และ 3) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 จำนวน 275 คน ได้จากการเปิดตารางของเครจซีและมอร์แกน และสุ่มแบบชั้นภูมิตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 และแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของฟิชเชอร์ และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาค่าเฉลี่ยต่ำสุด ดังนี้ หลักสูตร การวัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้ ครูและบุคลากร สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี 2) การเปรียบเทียบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่าแตกต่างกัน โดยสถานศึกษาขนาดเล็กแตกต่างกับสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดใหญ่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านหลักสูตร การวัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี และ 3) แนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา โดยพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนตามความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชน ส่งเสริมการออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับระดับชั้นและวัยของผู้เรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปลี่ยนบทบาทจากครูผู้สอนเป็นผู้อำนวยความสะดวก จัดครูเข้าสอนให้ตรงกับวิชาเอก ตามความรู้ความสามารถ ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรเข้ารับการอบรมเพิ่มประสบการณ์ด้านความรู้และทักษะวิธีตามความต้องการของครูและบุคลากร สนับสนุนการใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลาย และสามารถนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้จัดการเรียนรู้ด้วยการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงอย่างหลากหลาย และนำผลจากการประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectแนวทางการพัฒนา  การจัดการเรียนรู้  การพัฒนาผู้เรียน  ศตวรรษที่ 21  ประถมศึกษาth
dc.subjectDevelopment guidelineen
dc.subjectLearning managementen
dc.subjectLearner’s developmenten
dc.subject21st centuryen
dc.subjectPrimary educationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleGuidelines for Developing Learning Management to Develop Learners in the 21st Century of Schools under Phichit Primary Educational Service Area Office 1en
dc.titleแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSuttiwan Tuntirojanawongen
dc.contributor.coadvisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์th
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Educational Administration)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2642301010.pdf866.09 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.