Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13227
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | KORRANIS PONGLOOK-IN | en |
dc.contributor | กรณิศ พวงลูกอิน | th |
dc.contributor.advisor | Chulalak Sorapan | en |
dc.contributor.advisor | จุฬาลักษณ์ โสระพันธ์ | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:25:36Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:25:36Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 29/11/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13227 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this study were 1) to investigate the level of digital competencies of teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office Singburi Angthong; and 2) to study guidelines for developing digital competencies of teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office Singburi Angthong. The sample consisted of 278 teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office Singburi Angthong, obtained by stratified random sampling based on school size and simple random sampling. The sample size was determined according to Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The key informants were five experts. The employed research tools were a questionnaire on the level of digital competencies of teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office Singburi Angthong, with reliability coefficient of .97, and an interview form concerning guidelines for developing digital competencies of teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office Singburi Angthong. Data were analyzed with the use of the frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The research findings revealed that 1) both the overall and specific aspects of digital competencies of the teachers in schools were rated at the high level, with the specific aspects ranked from highest to lowest based on their rating means as follows: the aspects of digital knowledge, digital communication and interaction, digital usage, digital measurement and evaluation, and problem solving with digital tools; and 2) guidelines for developing digital competencies of the teachers in schools were as follows: (1) the school administrators should identify current issues, analyze the problems, build a team with knowledge in solving problems with digital tools, establish a chat line group or other online channels appropriate to the context, develop online educational knowledge resources, and encourage teachers to develop themselves; (2) the school administrators should create positive attitudes toward the use of digital technology in measurement and evaluation, organize training programs for teachers and personnel with knowledge and understanding of using digital tools for measurement and evaluation, create a support team or experts available or teachers to consult and receive help, procure and offer digital tools for teachers to use in measurement and evaluation, and improve the use of digital technology in measurement and evaluation to align with the curriculum and instruction; and (3) the school administrators should promote training on practical skills for teachers and personnel in the school, encourage teachers to use digital tools and media in their instruction, create and develop teaching content via digital technology, provide technical support and modern resources, create a technical team to offer consultation and assistance, encourage the development of a learning community for teachers, and evaluate the use of technology in instruction regularly to improve teachers’ technological usage | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสิงห์บุรี อ่างทอง และ 2) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสิงห์บุรี อ่างทอง กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสิงห์บุรี อ่างทอง จำนวน 278 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการเทียบตารางของเครจซีและมอร์แกน จากนั้นใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษาและการสุ่มอย่างง่าย ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับระดับสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสิงห์บุรี อ่างทอง มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 และแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสิงห์บุรี อ่างทอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ระดับสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความรู้ทางดิจิทัล ด้านการสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์ทางดิจิทัล ด้านการใช้ดิจิทัล ด้านการวัดและประเมินผลทางดิจิทัล และด้านการแก้ปัญหาด้วยเครื่องมือดิจิทัล และ 2) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา ได้แก่ (1) ผู้บริหารสถานศึกษาควรสำรวจปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน วิเคราะห์สภาพปัญหา สร้างทีมงานที่มีความรู้ด้านการแก้ปัญหาด้วยเครื่องมือดิจิทัล จัดตั้งกลุ่มแชทไลน์หรือช่องทางออนไลน์อื่นๆที่เหมาะสมกับบริบท พัฒนาแหล่งข้อมูลความรู้ทางการศึกษาแบบออนไลน์ และส่งเสริมครูในการพัฒนาตนเอง (2) ผู้บริหารสถานศึกษาควรสร้างทัศนคติที่ดีต่อการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการวัดและประเมินผล จัดหลักสูตรฝึกอบรมครูและบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือดิจิทัลในการวัดและประเมินผล จัดตั้งทีมสนับสนุนหรือผู้เชี่ยวชาญที่ครูสามารถปรึกษาและขอความช่วยเหลือได้ จัดหาและให้บริการเครื่องมือดิจิทัลที่ครูสามารถใช้ในการวัดและประเมินผล รวมทั้งปรับปรุงการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกับหลักสูตรการเรียนการสอนและ (3) ผู้บริหารสถานศึกษาควรส่งเสริมการอบรม การฝึกทักษะเชิงปฏิบัติการให้แก่ครูและบุคลากรในโรงเรียน ส่งเสริมให้ครูใช้สื่อและเครื่องมือดิจิทัลในการเรียนการสอน สร้างและพัฒนาเนื้อหาการสอนผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล สนับสนุนทางเทคนิคและทรัพยากรที่ทันสมัย สร้างทีมทางเทคนิคในการสนับสนุนให้คำปรึกษา ส่งเสริมการสร้างชุมชนการเรียนรู้ของครู และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีในการสอนอย่างสม่ำเสมอเพื่อปรับปรุงการใช้เทคโนโลยีของครู | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | แนวทางการพัฒนา สมรรถนะดิจิทัล ครู มัธยมศึกษา | th |
dc.subject | Guideline for development | en |
dc.subject | Digital competency | en |
dc.subject | Teacher | en |
dc.subject | Secondary education | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | Guidelines for Developing Digital Competencies of Teachers in Schools under the Secondary Educational Service Area Office Singburi Angthong | en |
dc.title | แนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสิงห์บุรี อ่างทอง | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Chulalak Sorapan | en |
dc.contributor.coadvisor | จุฬาลักษณ์ โสระพันธ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Master of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description.degreename | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Master of Education (Educational Administration) | en |
dc.description.degreediscipline | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) | th |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2652300134.pdf | 1.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.