Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13228
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Supalak Kamsiri | en |
dc.contributor | ศุภลักษ์ คำศิริ | th |
dc.contributor.advisor | Ketkanok Urwongse | en |
dc.contributor.advisor | เก็จกนก เอื้อวงศ์ | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:25:37Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:25:37Z | - |
dc.date.created | 2025 | |
dc.date.issued | 14/1/2025 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13228 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1) to study of instructional leadership of school administrators under Bangkok Office of Learning Encouragement; 2) to compare the instructional leadership of school administrators under Bangkok Office of Learning Encouragement as classified by school zone group; and 3) to study recommendations for development of instructional leadership of school administrators. The sample consisted of 217 school teachers under Bangkok Office of Learning Encouragement, obtained by stratified random sampling based on school zone group. The sample size was determined using Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The interview informants consisted of 5 people, including school administrators and teachers specialized in academic. The employed research instruments were a questionnaire on instructional leadership of school administrators, with reliability coefficient of .97, and a structured interview form. Data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, one-way analysis of variance, and content analysis. The research findings showed that 1) the overall instructional leadership of school administrators was at the high level; 2) the comparison of instructional leadership of school administrators classified by school zone group revealed that, overall, there are no significant differences; however, when considering each aspect, it was found that the curriculum management aspect significantly differed at the .05 statistical level; and 3) recommendations for development of instructional leadership of school administrators were as follows:(1)school administrators should develop their own expertise and conduct collaborative supervision seriously and continuously; (2) school administrators should be aware of teacher performance evaluation through the participation of stakeholders and the use of various assessment methods; (3) school administrators should analyze the local context and provide opportunities for teachers to involve in setting academic goals; (4)school administrators should recognize the importance of classroom action research and encourage teachers to use research to classroom problem solving; (5)school administrators should be aware of the importance of developing elective course curricula that align with the needs of students; (6) Bangkok Office of Learning Encouragement should organize workshops for school administrators and teachers to enhance their knowledge and understanding of curriculum development and be able to apply the curriculum in the classroom appropriately; and (7) Bangkok Office of Learning Encouragement should promote school administrators to organize continuous workshops on teachers’ instructional development. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร จำแนกตามกลุ่มโซนสถานศึกษา และ 3) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร 217 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามกลุ่มโซน ผู้ให้ข้อมูลการสัมภาษณ์ จำนวน 5 คน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูที่เชี่ยวชาญด้านวิชาการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 และแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษาจำแนกตามกลุ่มโซนสถานศึกษา พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านบริหารจัดการหลักสูตรแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาการพัฒนาภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษา มีดังนี้ (1) ผู้บริหารควรมีการพัฒนาตนเองให้มีความเชี่ยวชาญและดำเนินการนิเทศแบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง (2) ผู้บริหารควรตระหนักถึงการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูโดยการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องและมีวิธีการประเมินที่หลากหลาย (3) ผู้บริหารควรวิเคราะห์บริบทพื้นที่และเปิดโอกาสให้ครูมีส่วนร่วมกำหนดเป้าหมายทางวิชาการ (4) ผู้บริหารควรตระหนักถึงความสำคัญในการวิจัยในชั้นเรียนและส่งเสริมให้ครูนำงานวิจัยมาแก้ปัญหาในชั้นเรียน (5) ผู้บริหารควรตระหนักถึงความสำคัญของการจัดทำหลักสูตรรายวิชาเลือกให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน (6) สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้กรุงเทพมหานครควรจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ผู้บริหารและครูมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการจัดทำหลักสูตร และสามารถนำหลักสูตรไปประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม และ (7) สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้กรุงเทพมหานครควรส่งเสริมให้ผู้บริหารสถานศึกษาจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการพัฒนาการสอนของครูอย่างต่อเนื่อง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | ภาวะผู้นำการเรียนการสอน ผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร | th |
dc.subject | Instructional leadership | en |
dc.subject | School administrator | en |
dc.subject | Bangkok Office of Learning Encouragement | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | Instructional Leadership of School Administrators under Bangkok Office of Learning Encouragement | en |
dc.title | ภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Ketkanok Urwongse | en |
dc.contributor.coadvisor | เก็จกนก เอื้อวงศ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Master of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description.degreename | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Master of Education (Educational Administration) | en |
dc.description.degreediscipline | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) | th |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2652300183.pdf | 2.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.