Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13244
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | วิไลวรรณ บัญถะ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:25:45Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:25:45Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13244 | en_US |
dc.description | การศึกษาเฉพาะกรณี (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำทางวิชาการในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา 2) เปรียบเทียบระดับภาวะผู้นำทางวิชาการในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาจำแนกตามขนาดสถานศึกษา และ 3) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 จำนวน 285 คน ได้จากการเปิดตารางของเครจซีและมอร์แกน และสุ่มแบบชั้นภูมิตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือการวิจัยที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับภาวะผู้นำทางวิชาการในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .99 และแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในศตวรรษที่ 21 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของฟิชเชอร์ และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการศึกษาพบว่า 1) ภาวะผู้นำทางวิชาการในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาค่าเฉลี่ยต่ำสุด ดังนี้ การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาบุคลากร การมีวิสัยทัศน์เพื่อการเปลี่ยนแปลง การสนับสนุนสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี และ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 2) การเปรียบเทียบภาวะผู้นำทางวิชาการในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่าแตกต่างกัน โดยสถานศึกษาขนาดเล็กแตกต่างกับสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดใหญ่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านการมีวิสัยทัศน์เพื่อการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาบุคลากร การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้และการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ การสนับสนุนสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี และ3) แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหารควรใช้กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดแผนกลยุทธ แผนงาน โครงการ ของโรงเรียนให้มีความทันสมัยเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ส่งเสริมการอบรมพัฒนาตนเองของครูตามความถนัดและความสนใจอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบ เน้นการปฏิบัติจริง มีการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรู้ในการใช้สื่ออย่างสม่ำเสมอ และพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน | th_TH |
dc.title | แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for development of academic leadership in the 21st century of School Administrators Under Phatthalung Primary Educational Service Area Office 1 | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were 1) to study academic leadership in the 21st century of school administrators; 2) to compare the academic leadership in the 21st century of school administrators, as classified by school size, and 3) to propose guidelines for developing the academic leadership in the 21st century of school administrators under Phatthalung Primary Educational Service Area Office 1. The sample consisted of 285 teachers in schools under Phatthalung Primary Educational Service Area Office 1, which were determined by Krejice and Morgan Table and then obtained by stratified random sampling based on school size. The research instruments were a questionnaire on academic leadership in the 21st century of school administrators, with reliability coefficient of .99 and an interview form on guidelines for developing academic leadership in the 21st century of school administrators. The data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, one way ANOVA, Fisher's pairwise comparison method, and content analysis. The research findings revealed that 1) the overall and each aspect of academic leadership in the 21st century of school administrators were rated at the high level. When considering all specific aspects, they could be ranked based on their rating means from the highest to the lowest as follows: that of development of learning management process, that of human resource development, that of having a vision for change, that of media, innovation and technology support, and that of learning resource development; 2) regarding comparison results of academic leadership of school administrators, as classified by school size, it was found that the overall academic leadership of school administrators was significantly different at the .05 level. Regarding pairwise comparison results, it was found that the small-sized schools were significantly different from the medium and large-sized schools in all aspects at the .05 level. 3) guidelines for developing technological leadership of school administrators were the followings: school administrators should use participatory process in establishing strategic plans, action plan, and projects of the school to accommodate changes in the 21st century, provide continuous training for teachers’ self-development according to their aptitudes and interests, promote learning management with an emphasis on actual practices, supervise and follow- up on learning management in using media, and develop the quality of learners to have knowledge, morality, and learning skills for the 21st century. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2652301041.pdf | 4.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.