Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13284
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัยth_TH
dc.contributor.authorปิยวัฒน์ ปาลีth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:20Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:20Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13284en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (2) ระดับการจัดการองค์การของกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (3) ปัจจัยการจัดการองค์การที่ส่งผลต่อการประสิทธิภาพในปฏิบัติงานของบุคลากรของกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และ (4) เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรคที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จำนวน 182 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 125 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรกองความปลอดภัยแรงงาน  กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายปัจจัย พบว่า ด้านคุณภาพของงาน  ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) ระดับการจัดการองค์การของกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายปัจจัย พบว่า ด้านระบบองค์การในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (3) ปัจจัยการจัดการองค์การที่ส่งผลต่อการประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรของกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ในภาพรวมมีตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน อย่างนัยสำคัญทางสถิติมีจำนวน 3 ตัวแปร ได้แก่  ระบบองค์การ ทักษะในการปฏิบัติงาน และค่านิยมร่วม สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลของประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน  ของบุคลากรกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ได้ร้อยละ 64.5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 (4) แนวทางการแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรคที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน คือ จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอเหมาะสมกับการทำงาน จัดให้มีค่าตอบแทนพิเศษ และจัดให้มีอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้เหมาะสมกับงานที่รับผิดชอบth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาเฉพาะกรณี--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.subjectการจัดองค์การth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยการจัดการองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานth_TH
dc.title.alternativeOrganizational management factors affecting the work efficiency of Personnel of the Occupational Safety and Health Division, Department of Labour Protection and Welfareen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study the work efficiency level of personnel of the Occupational Safety and Health Division, Department of Labour Protection and Welfare, (2) to study the organizational management level of the Occupational Safety and Health Division, Department of Labour Protection and Welfare, (3) to study the organizational management factors affecting the work efficiency of personnel of the Occupational Safety and Health Division, Department of Labour Protection and Welfare, and 4) to suggest guidelines to solve the problems affecting the work efficiency performance of personnel of the Occupational Safety and Health Division, Department of Labour Protection and Welfare.This research was quantitative research. A sample was 125 employees of the Occupational Safety and Health Division, Department of Labour Protection and Welfare, taken by accidental sampling technique, using Taro Yamane’s method. The research instrument was a questionnaire. The statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple linear regression analysis.The results of this study were: (1) the overall work efficiency level of personnel of the Occupational Safety and Health Division, Department of Labour Protection and Welfare was high. Quality of work factor was rated the highest. (2) The overall organizational management level of the Occupational Safety and Health Division, Department of Labour Protection and Welfare was high. Organizational system factor was rated the highest. (3) The organizational management factors regarding the organizational system, skills, and shared values affected the work efficiency of personnel of the Occupational Safety and Health Division, Department of Labour Protection and Welfare at a statistical significance level of 0.05 with a predictive powerof 64.5. (4) Guidelines to solve the problems affecting the work efficiency of personnel of the Occupational Safety and Health Division, Department of Labour Protection and Welfare are allocating a sufficient and appropriate budget for the work, providing special payments, and providing an appropriate personal protective equipment (PPE) for the work.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2633002627.pdf2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.