Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13326
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัยth_TH
dc.contributor.authorวิลาวัลย์ ขาวลมัยth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:31Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:31Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13326en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความสุขในการทำงานและสมรรถนะ หลักในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการจังหวัด ในสังกัดสำนักงานอัยการภาค 2   (2) ปัจจัยความสุขในการทำงานที่มีผลต่อสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงาน ข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการจังหวัด ในสังกัดสำนักงานอัยการภาค 2การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงผสมวิธี การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือ ข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการจังหวัดในสังกัดสำนักงานอัยการภาค 2  ทั้งสิ้น 156 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง  จากการใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน ได้ตัวอย่างจำนวน 113 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์พหุถดถอยเชิงเส้น การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์แบบเชิงลึก กับกลุ่มตัวอย่างที่มีบทบาทหน้าที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานเชิงนโยบายของสำนักงานอัยการจังหวัด จำนวน 3 คน ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับความสุขในการทำงานและสมรรถนะหลักอยู่ในระดับ มากที่สุด โดยอารมณ์ทางลบมีค่ามากที่สุด ตามด้วยอารมณ์ทางบวก ความพึงพอใจในงาน และชีวิต  ในด้านสมรรถนะการยึดมั่นในความถูกต้อง ชอบธรรมและจริยธรรมมีค่ามากที่สุด รองลงมาคือการบริการ ที่ดี การทำงานเป็นทีม การมุ่งผลสัมฤทธิ์ และการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (2) ปัจจัยความสุขในการทำงานที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการทำงานได้แก่อารมณ์ทางบวกและอารมณ์ทางลบซึ่งมีผลอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 การวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ปัจจัยที่มีผลคือการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา ความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน และสภาพแวดล้อมการทำงาน รวมถึงโอกาสในการพัฒนาตนเองและการยอมรับจากองค์กรth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectความสุขในการทำงาน  สมรรถนะหลัก  ข้าราชการธุรการ  สำนักงานอัยการจังหวัดสำนักงานอัยการภาค 2th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาเฉพาะกรณี--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความสุขในการทำงาน ที่มีผลต่อสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานของข้าราชการธุรการ สำนักงานอัยการจังหวัดในสังกัดสำนักงานอัยการภาค 2th_TH
dc.title.alternativeHappiness at work affecting the core competencies of administrative officials provincial prosecutor's office under the Jurisdiction of the Prosecutor's Office Region 2en_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research objectives were: (1) to study the level of happiness at work and main competencies in work; of administrative officials of the Provincial Attorney's Office Under the jurisdiction of the Prosecutor's Office Region 2 (2) To study the factors of happiness at work that affect key competencies in work. Administrative official of the Provincial Prosecutor's Office Under the jurisdiction of the Prosecutor's Office Region 2 (3) To study guidelines for developing and promoting happiness factors at work that affect key competencies in work. of administrative officials of the Provincial Attorney's Office Under the jurisdiction of the Prosecutor's Office Region 2.This research was a mixed method research. For quantitative research: The population was administrative officials of the Provincial Prosecutor's Office. Under the jurisdiction of the Prosecutor's Office Region 2, there were 10 offices, a total of 156 people, by determining the sample size. Using Taro Yamane's formula, a sample of 113 people was obtained. The instrument used in this study was a questionnaire. Statistics used in data analysis include frequency, percentage, mean, and standard deviation. and multiple linear regression analysis. Qualitative research applied in-depth interviews with a sample group of 3 people whose roles are related to policy administration of the Provincial Attorney's Office.The results of the quantitative study found that (1) the level of happiness at work and core competencies were at the highest level. with negative emotions being the most valuable Followed by positive emotions Job and life satisfaction in terms of competence in adhering to correctness Righteousness and ethics are the most valuable. Second is good service. teamwork achievement and the accumulation of professional expertise (2) The factors of work happiness that significantly affect job performance were positive emotions and negative emotions, which had a statistically significant in 0.05 level. Qualitative research found that an influential factor was supervisor support. Good relationships with co-workers and working environment included opportunities for self-development and recognition from the organization.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2643002419.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.