กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13348
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กาญจนา บุญยัง | th_TH |
dc.contributor.author | เชาวนี มะลิงาม | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:37:37Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:37:37Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13348 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับปัจจัยการพัฒนาองค์กรของโรงพยาบาลปากช่องนานา (2) ระดับการเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ของโรงพยาบาลปากช่องนานา และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการพัฒนาองค์กรกับการเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ของโรงพยาบาลปากช่องนานาการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือบุคลากรโรงพยาบาลปากช่องนานา จำนวน 910 คน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษามีจำนวน 378 คน โดยขนาดตัวอย่างตามสูตรของทาโรยามาเน ใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วน เครื่องมือในการวิจัยคือ แบบสอบถาม ใช้โปรแกรมวิเคราะห์ ทางสถิติ สถิติเชิงพรรณนา ใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับปัจจัยการพัฒนาองค์กรในภาพรวมของโรงพยาบาล ปากช่องนานา อยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านการบริหารจัดการคุณภาพ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และ ด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (2) ระดับความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของโรงพยาบาล ปากช่องนานา อยู่ในระดับปานกลาง โดยการใช้เทคโนโลยี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และทำงานเป็นทีมและสนับสนุนคนเก่ง มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (3) ภาพรวมปัจจัยการพัฒนาองค์กรมีความสัมพันธ์กับการเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ของโรงพยาบาลปากช่องนานา ระดับสูงมาก ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ปัจจัยการพัฒนาองค์กร องค์กรสมรรถนะสูง โรงพยาบาลปากช่องนานา | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาเฉพาะกรณี--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ของโรงพยาบาลปากช่องนานา จังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | Factors Relating the Being High-Performance Organizationof Pak Chong Nana Hospital, Nakhon Ratchasima Province | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to study: (1) the level of organizational development factors of Pak Chong Nana Hospital, (2) the level of high-performance organization of Pak Chong Nana Hospital, and (3) the relationship between organizational development factors and being a high-performance organization at Pak Chong Nana Hospital.This study was a quantitative research. The population was staff members from Pak Chong Nana Hospital, totally 910 staff members. The sample size was 378 samples. The sample size was determined by using Taro Yamane calculation formula, were randomly surveyed using a calibrated questionnaire. The collected data, including frequency and percentage were analyzed statistically using Pearson’s correlation coefficient with SPSS, at a significance level of 0.05. The results of the study revealed that: (1) the overall organizational development factors of Pak Chong Nana Hospital, were at a moderate level, with quality management having the highest mean score, and strategic management having the lowest mean score, (2) the level of being a high-performance organization of Pak Chong Nana Hospital, was at a moderate level with technology utilization having the highest mean score, and teamwork and talent support having the lowest mean score, (3) the overall organizational development factors including, leadership skills, modern organizational management, quality management, and information technology showed a very high correlation with the being a high-performance organization of Pak Chong Nana Hospital, at a significance level of 0.05. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2653000170.pdf | 1.31 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น