กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13356
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติth_TH
dc.contributor.authorณิชาภา จันทวงษ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:39Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:39Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13356en_US
dc.descriptionการศึกษาเฉพาะกรณี (บท.ม. (บริหารธุรกิจ))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของบุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลพยอมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน (2) เพื่อเปรียบเทียบระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลพยอม จังหวัดพระนครศรีอยุธยาการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือบุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลพยอม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างจำนวน 52 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลพยอม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีความเห็นเกี่ยวกับแรงจูงใจในการทำงานและปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) บุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลพยอม จังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีความเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน และ (3) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้านความรับผิดชอบในงาน ด้านนโยบายการบริหารขององค์กร และด้านตำแหน่งงาน มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลพยอม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยสามารถรวมกันพยากรณ์ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของของบุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลพยอม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้ร้อยละ 87th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectแรงจูงใจ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร ในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลพยอม จังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeFactors Affecting Employee Performance in the Tambon Administration Organization, Phayom Sub-district, Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to (1) examine the level of opinions on motivation factors and performance efficiency of personnel in Phayom Sub-district Administrative Organization in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province; (2) compare levels of performance efficiency, classified by personal factors; and (3) investigate work motivations that affect performance efficiency of personnel in Phayom Sub-district Administrative Organization.The study employed quantitative research. The population consisted of personnel from the Phayom Subdistrict Administrative Organization. A random sampling of 52 individuals was selected. The data collection instrument utilized was a questionnaire. The statistical analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis.The findings indicated that (1) personnel from Phayom Sub-district Administrative Organization had overall opinions on work motivation factors and performance efficiency at a high level. (2) Personnel with different personal factors perceived their overall performance efficiency indifferently.  (3) Work motivation factors in terms of job responsibility, organizational management policies, and job position influenced performance efficiency at a statistical significance level of 0.05. These factors can jointly predict performance efficiency of personnel in Phayom Subdistrict Administrative Organization for 87 percent.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2653000691.pdf1.06 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น