กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13360
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบth_TH
dc.contributor.authorวศินี สาลีนาคth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:41Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:41Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13360en_US
dc.descriptionการศึกษาเฉพาะกรณี (บท.ม. (บริหารธุรกิจ))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (2) ระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (3) การเปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (4) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร 318 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามวิธีของ Yamane จำนวน 177 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ลักษณะงานที่ตั้งอยู่บนฐานของกฎหมายหรือกระบวนการยุติธรรม และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ การได้รับค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม (2) ระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก จำแนกตามรายด้าน พบว่า ด้านความเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามอย่างมากเพื่อประโยชน์ขององค์การ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะคงไว้ซึ่งความเป็นสมาชิกภาพขององค์การ มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด (3) ผลการเปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ปัจจัยคุณภาพชีวิตในการทำงานที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตในการทำงาน ความผูกพันต่อองค์การ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาth_TH
dc.title.alternativeQuality of Working Life and Organizational Commitment of Personnel in Office of the Teacher Civil Service and Educational Personnel Commissionen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the level of quality of working life of personnel in Office of the Teacher Civil Service and Educational Personnel Commission; (2) to study the level of organizational commitment of personnel in Office of the Teacher Civil Service and Educational Personnel Commission; (3) to compare organizational commitment of personnel in Office of the Teacher Civil Service and Educational Personnel Commission, classified by personal factors; and (4) to analyze factors of quality of working life that are related to organizational commitment.This study was quantitative research. The population was 318 personnel. The sample size was 177 samples determined by Yamane formula. A research instrument was a questionnaire. Statistical analysis include frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one – way ANOVA and Pearson’s Correlation Coefficient.              The findings indicated that (1) an overview and all aspects of level quality of working life of personnel in Office of the Teacher Civil Service and Educational Personnel Commission was at the high level. Considering each aspect, it was found that constitutionalism was at the highest level whereas adequate and fair compensation was at the lowest level. (2) An overview and all aspects of level of organization commitment of personnel in Office of the Teacher Civil Service and Educational Personnel Commission was at a high level. Considering each aspect, it was found that willingness to exert considerable effort on behalf of the organization was at the highest level whereas the desire to maintain membership in the organization was at the lowest level. (3) The comparative organizational commitment classified by personal factors was found that gender, age, education, working experience and average monthly income were statistically significantly different at 0.05 levels. (4) Factors of quality of working life that were related to organizational commitment of personnel in Office of the Teacher Civil Service and Educational Personnel Commission statistically significant at 0.01 levels.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2653000733.pdf1.34 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น