Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13383
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รชพร จันทร์สว่าง | th_TH |
dc.contributor.author | ดวงพร มุมขุนทด | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | - |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:37:48Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:37:48Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13383 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยภายในองค์กร และระดับการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลของกรมส่งเสริมสหกรณ์ (2) เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลของกรมส่งเสริมสหกรณ์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายในองค์กรต่อการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลของกรมส่งเสริมสหกรณ์ และ (4) เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรมส่งเสริมสหกรณ์การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ บุคลากรสังกัดกรมส่งเสริมสหกรณ์ กำหนดกลุ่มตัวอย่างได้ 258 คน โดยการใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าเอฟ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 41-55 ปี ส่วนใหญ่ศึกษาระดับปริญญาตรี ประเภทข้าราชการ ระดับปฏิบัติการ สังกัดกองพัฒนาระบบสนับสนุนการสหกรณ์ มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานไม่เกิน 10 ปี และมีระดับเงินเดือนไม่เกินหรือเท่ากับ 20,000 บาท ปัจจัยภายในองค์กรโดยรวมอยู่ในระดับมาก และระดับการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลอยู่ในระดับปานกลาง (2) บุคลากรที่มีปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ การศึกษา ระดับตำแหน่ง และหน่วยงานที่สังกัดแตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นในการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัจจัยภายในองค์กรโดยรวมมีความสัมพันธ์ต่อการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เชิงบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ (4) ควรส่งเสริมบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีดิจิทัล | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาองค์การ--กรมส่งเสริมสหกรณ์ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลของกรมส่งเสริมสหกรณ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors Related to Digital Transformation of the Cooperative Promotion Department | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to: (1) study personal factors, internal organizational factors, and the level of digital transformation of the Cooperative Promotion Department; (2) compare the level of opinions on the digital transformation of the Cooperative Promotion Department classified by personal factors, (3) analyze the relationship between internal organizational factors and the digital transformation of the Cooperative Promotion Department, and (4) propose guidelines for improving the efficiency of digital technology operations of the Cooperative Promotion Department. The population of this quantitative research was personnel of the Cooperative Promotion Department. The sample size was 258 people determined by using Taro Yamane's calculation formula. The study tool was a questionnaire. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, independent sample t-test, One-way ANOVA and Pearson's correlation coefficient. The results of the study reveated that (1) the majority of respondents are female, aged between 41-55 years, hold a bachelor's degree, and were civil servants at the operational level in the Cooperative Support Division. Most had less than 10 years of work experience and earned a monthly salary of 20,000 baht or tess. Overatl, the internal organizational factors are rated at a high level, while the level of organizational transition is rated at a moderate level; (2) personnel with different personal factors of gender, education, position level and affiliation had different levels of opinions on digital transformation with statistical significance at 0.05; (3) overall internal organizational factors have a strong positive correlation with the digital transition of the Department of Cooperative Promotion, with statistical significance at the level of 0.01; and (4) there should be efforts to promote personnel in acquiring knowledge, skills, and expertise in digital technology. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2653001863.pdf | 2.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.