กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13391
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ราณี อิสิชัยกุล | th_TH |
dc.contributor.author | สุพิณญา รุ่งอรุณ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:37:51Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:37:51Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13391 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความสำคัญของปัจจัยจูงใจในการทำงานของพนักงานสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด (2) ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด (3) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (4) ความสัมพันธ์ปัจจัยจูงใจในการทำงานกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด 77 จังหวัด จำนวน 460 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามวิธีของยามาเน จำนวน 233 คน การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน การเก็บรวบรวมโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความสำคัญของปัจจัยจูงใจในการทำงานของพนักงานสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การได้รับอัตราเงินเดือน/เลื่อนขั้นที่เป็นธรรม (2) ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ปัจจัยขององค์การ (3) พนักงานสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดที่มีปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันมีระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญแตกต่างกันที่ระดับ 0.05 (4) พนักงานสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดที่มีปัจจัยจูงใจในการทำงานทุกด้านมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ปัจจัยจูงใจในการทำงาน ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาเฉพาะกรณี--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงานสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด | th_TH |
dc.title.alternative | Factors Relating Performance Efficiency of Employees of Provincial Farmers Council Office | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to study (1) the importance level of work motivating factors of employees of Provincial Farmers Council Office; (2) level of performance efficiency of employees of Provincial Farmers Council Office; (3) the comparison of performance efficiency, classified by personal factors; and (4) the relationship between motivating factors and performance efficiency of employees of Provincial Farmers Council Office. This study was quantitative research. The population was 460 employees of 77 provincial farmers council offices. The sample size of 233 samples was determined by Yamane formula. A research instrument was a questionnaire. Statistics for data analysis employed frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson correlation coefficient. The findings indicated that (1) an overall of importance level of motivating factors of employees of Provincial Farmers Council Office was at the highest level. Considering each aspect, it was found that receiving a fair salary/promotion rate was at the highest mean. (2) An overall level of performance efficiency was at the highest level. Considering each aspect, it was found that organizational factors was at the highest mean. (3) Personnel with personal factors in terms of age, education and average monthly income had differences in performance efficiency at statistical significance at 0.05 level. (4) Work motivating factors affected performance efficiency at statistical significance at 0.01 level. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2653002028.pdf | 1.41 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น