Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13396
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMOOKARIN SOOPPATKOOLen
dc.contributorมุกรินทร์ สุพพัตกุลth
dc.contributor.advisorPavin Chinachotien
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:52Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:52Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued24/9/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13396-
dc.description.abstractThe objectives of this study are: (1) to study the levels of opinion on work stress and burnout syndrome, (2) to study the relationship between work stress and burnout syndrome, and (3) to analyze factors of work stress that affect burnout syndrome of administrative support group in Surin Provincial Public Health Office. This study was survey research. The study population was 86 civil servants in the administrative support staff in the Surin Provincial Public Health Office. The sample size of 74 individuals was calculated using the Krejcie and Morgan formula with a 0.05 margin of error.        A research instrument was a questionnaire. Analytical tools employed include mathematical application software for data analysis, conclusions and test hypotheses. Statistical data analysis include frequency, percentages, mean, standard deviation, and Multiple Correlation Coefficient.The study found that: (1) the overall level of work stress was at a moderate level. The interpersonal relationships dimension was at a high level, whereas the job nature, role responsibilities, career path, organizational characteristics, and work-life balance dimensions were rated at a moderate level. The overall level of burnout syndrome was at a low level. The dimensions of emotional exhaustion, depersonalization, and personal accomplishment were all rated at a low level. (2) The relationship between work stress and burnout syndrome was overall negatively significant at the 0.01 level. (3) occupational stress factors in terms of interpersonal relationships and work-life balance significantly affected burnout syndrome at a 0.001 level.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความคิดเห็นของความเครียดในการทำงาน       และภาวะหมดไฟในการทำงาน (2) ความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดในการทำงานกับภาวะหมดไฟในการทำงาน  (3) ปัจจัยของความเครียดในการทำงานที่มีผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของข้าราชการกลุ่มสนับสนุน       งานบริหารในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรในการศึกษา คือ ข้าราชการกลุ่มสนับสนุนงานบริหาร ในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ จำนวนทั้งหมด 86 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้  จากสูตรการคำนวณของเครซี่และมอร์แกน ความคลาดเคลื่อนที่ 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 74 คน สำหรับเครื่องมือ  ที่ใช้ในการวิเคราะห์ครั้งนี้คือแบบสอบถาม  โปรแกรมประยุกต์ทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาคำตอบในการศึกษาและทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ จำนวนค่าความถี่          ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์พหุคูณ จากการศึกษา พบว่า (1) ระดับความคิดเห็นความเครียดในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับ      ปานกลาง โดยด้านสัมพันธภาพระหว่างบุคคลมีความคิดเห็นอยู่ในระดับสูง ส่วนด้านลักษณะงาน ด้านบทบาทหน้าที่ ด้านความก้าวหน้าในงาน ด้านลักษณะองค์การ และด้านความสมดุลระหว่างชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว อยู่ในระดับปานกลาง ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะหมดไฟในการทำงาน โดยรวมอยู่ในระดับต่ำ    โดยด้านความรู้สึกอ่อนล้าทาง  อารมณ์ ด้านความรู้สึกลดความเป็นบุคคลและด้านความสำเร็จ ส่วนบุคคล        มีความคิดเห็นอยู่ในระดับต่ำทั้งสิ้น (2) ความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดในการทำงานกับภาวะหมดไฟในการทำงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์ทางลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.01 (3) ปัจจัยความเครียดในการทำงานด้านความสัมพันธภาพระหว่างบุคคลและความเครียดในการทำงานด้านความสมดุลระหว่างชีวิตการทำงาน    และชีวิตส่วนตัว มีผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงาน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.001th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectความเครียดในการทำงาน ภาวะหมดไฟในการทำงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์th
dc.subjectWork stressen
dc.subjectBurnout syndromeen
dc.subjectSurin Provincial Public Health Officeen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationPhilosophy and ethicsen
dc.titleWORK STRESS AFFECTING BURNOUT SYNDROME IN THE ADMINISTRATIVE SUPPORT GROUP IN THE SURIN PROVINCIAL PUBLIC HEALTH OFFICEen
dc.titleความเครียดในการทำงาน มีผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงาน ของข้าราชการกลุ่มสนับสนุนงานบริหาร ในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorPavin Chinachotien
dc.contributor.coadvisorภาวิน ชินะโชติth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.description.degreenameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารธุรกิจ (บธ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Business Administrationen
dc.description.degreedisciplineบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2653002168.pdf892.05 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.