Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13401
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPATCHARAMAI POKHATEPen
dc.contributorพัชรมัย โภคาเทพth
dc.contributor.advisorNoppon Akahaten
dc.contributor.advisorนพพล อัคฮาดth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:54Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:54Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued24/12/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13401-
dc.description.abstractThis study aims to study (1) level of the effectiveness of developing and integrating provincial and regional development plans; (2) comparing the effectiveness of developing and integrating provincial and regional development plans classified by individual factors; and (3) factors influencing the success of developing and integrating provincial and regional development plans under the Royal Decree on Integrated Area-Based Administration, B.E. 2565.The study is a quantitative research. It focused on civil servants and officials involved in creating provincial and regional development plans. Due to the unknown population size, the sample size was determined based on the guideline from Memon et al. (2020), which suggests a sample size of at least 20 times the number of observed variables. With four observed variables, the calculated sample size was 80; however, to ensure data accuracy, the final sample size was set at 144. The study utilized probability sampling, specifically group-based random sampling across various work divisions. Data analysis included frequency distribution, percentages, mean, standard deviation, t-tests, one-way ANOVA (Analysis of Variance), and multiple regression analysis at a significance level of 0.05.The findings reveal that (1) overall, level of the effectiveness of developing and integrating provincial and regional development plans was high, (2) the individual factors, such as varying years of experience, influenced plan integration success rates, but factors such as gender, age, education level, position, affiliation, and project-related experience did not show significant differences in success rates, and (3) the factors impacting the success of plan integration included work methods, resource allocation, budgeting, and personnel. These factors had a predictive accuracy of 50.9% at a statistical significance level of 0.05.en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับผลสัมฤทธิ์ของการจัดทำและบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการจัดทำและบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ของการจัดทำและบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ภายใต้พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานเชิงพื้นที่แบบบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดการศึกษานี้เป็นวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอนเป็นไปตามที่ มีเมิลเสนอไว้ว่า แนวทางในการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจะต้องพิจารณาจากตัวแปรสังเกต (ตัวแปรอิสระ) โดยจะต้องมีขนาด 20 เท่าขึ้นไปต่อตัวแปรสังเกต จากกรอบแนวทางการศึกษาพบว่ามีจำนวนตัวแปรสังเกตทั้งหมด 4 ตัวแปร และเมื่อคำนวณ 20 เท่าต่อตัวแปรสังเกตจะได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 80 ตัวอย่าง แต่เพื่อสำรองความคลาดเคลื่อนที่อาจจะเกิดขึ้นในการเก็บข้อมูล ผู้ศึกษาจึงกำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 144 คน สำหรับวิธีการสุ่มตัวอย่างในครั้งนี้การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างตามกลุ่มงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับผลสัมฤทธิ์ของการจัดทำและบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัดและ กลุ่มจังหวัด ของหน่วยงานปฏิบัติ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ด้านปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระยะเวลา การปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน มีระดับผลสัมฤทธิ์ในการจัดทำและบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แตกต่างกัน ส่วนปัจจัยด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง สังกัดหน่วยงาน และประสบการณ์การทำงาน ด้านแผนและโครงการ มีระดับความสำเร็จผลสัมฤทธิ์ของการจัดทำแผนและบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัด ไม่แตกต่างกัน และ (3) ระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เป็นเส้นตรง ทำนายได้ร้อยละ 50.90 โดยปัจจัยแต่ละด้านสามารถทำนายได้ผล ได้ดังนี้ คือ ด้านวิธีการทำงาน  ด้านทรัพยากร ด้านงบประมาณ และด้านบุคลากร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด  ผลสัมฤทธิ์th
dc.subjectProvincial and Regional Development Plansen
dc.subjectAchievementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.titleFactors Affecting the Achievement of Making and Integrating  in Provincial Development Plan and Provincial Group  Development Plan under the Decree about Area-Based  Integration Administration B.E.2022 : A Case Study of  Operational Agencyen
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ของการจัดทำและบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ภายใต้พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานเชิงพื้นที่ แบบบูรณาการ พ.ศ. 2565 : ศึกษากรณีหน่วยงานปฏิบัติth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorNoppon Akahaten
dc.contributor.coadvisorนพพล อัคฮาดth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Public Administration (M.P.A.)en
dc.description.degreenameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ (รป.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Public Administrationen
dc.description.degreedisciplineรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2653002416.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.