กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13408
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติth_TH
dc.contributor.authorชณาพร จันทร์ขุนนาคth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:57Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:57Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13408en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล (2) พฤติกรรมการปรับตัวในการดำเนินชีวิตก่อนเกษียณอายุ (3) รูปแบบการเตรียมความพร้อมก่อนการเกษียณอายุ และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการปรับตัวในการดำเนินชีวิตกับรูปแบบการเตรียมความพร้อมก่อนการเกษียณอายุ ของข้าราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือ ข้าราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ อายุ 50 ปีขึ้นไป จำนวน 780 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามวิธีของยามาเน จำนวน 270 คน ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย        ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) ข้าราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 51 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี รายได้ต่อเดือนอยู่ในช่วง 40,001 – 60,000 บาท มีความรู้เกี่ยวกับการลงทุนระดับปานกลาง ลักษณะที่อยู่อาศัยบ้านตนเอง (2) ผลการศึกษาพฤติกรรมการปรับตัวในการดำเนินชีวิตก่อนเกษียณอายุโดยรวมของข้าราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า พฤติกรรมการปรับตัวในการดำเนินชีวิตด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการพึ่งพาระหว่างกัน (3) ผลการศึกษารูปแบบการเตรียมความพร้อมก่อนการเกษียณอายุโดยรวม ของข้าราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า รูปแบบการเตรียมความพร้อมก่อนการเกษียณอายุด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านสัมพันธภาพในครอบครัว และ (4) พฤติกรรมการปรับตัวในการดำเนินชีวิตกับรูปแบบการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุโดยรวมมีความสัมพันธ์กันในระดับสูงth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการเตรียมความพร้อมในการเกษียณอายุth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาเฉพาะกรณี--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการเตรียมความพร้อมในการเกษียณอายุราชการ ของข้าราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์th_TH
dc.title.alternativePreparation for retirement of civil officials of cooperative promotion department.en_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) personal factors,(2) adaptive behaviors in life before retirement, (3) patterns of preparation before retirement, and (4) the relationship between adaptive behaviors in life and patterns of preparation before retirement of civil officials in Cooperative Promotion Department. This research employed quantitative approach. The population consisted of 780 civil officials of Cooperative Promotion Department aged 50 years old and above. The sample size was determined using Yamane's Formula, totaling 270 people. Data was collected using questionnaires, and the responses were analyzed. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson's Correlation Coefficient.The study results showed that (1) the most of respondents were female, aged of 51, married, held a bachelor's degree, and earned a monthly income between 40,001 – 60,000 baht. They had investment knowledge at a moderate level and lived in their own homes. (2) The overall adaptive behaviors in life before retirement among government officials in Cooperative Promotion Department were at a high level. When examining each aspect, the highest average adaptive behavior was mutual dependence. (3) The overall retirement preparation of the officials was also at a high level. When examining each aspect, the highest average preparation was in family relationships. (4) Lifestyle adaptation behavior and overall retirement preparation patterns were highly related.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2653002994.pdf894.31 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น