Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13410
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWannika Kaysuwanen
dc.contributorวรรณนิกา ข่ายสุวรรณth
dc.contributor.advisorChatchapon Songsoonthornwongen
dc.contributor.advisorชัชพล ทรงสุนทรวงศ์th
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:58Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:58Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued15/1/2025
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13410-
dc.description.abstractThis study aims to (1) study behavior of Thai tourists using public buses in Lampang Province; (2) study the level of satisfaction in using public buses of Thai tourists in Lampang Province; (3) compare the level of satisfaction in using public bus services among Thai tourists, classified by personal characteristics; and (4) analyze factors affecting Thai tourists' satisfaction in using public bus services. in Lampang province.This study is quantitative research. The population was un-known Thai tourists aged 20 years old and over who have used public transportation in Lampang Province. The sample size of 385 tourists was determined by using Cochran’s formula, and collected through multi-stage sampling. Data were gathered using a questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics including frequency, percentage, mean, and standard deviation; and reference statistics, including t-test, F-test, and multiple regression analysis.The results of the study found that (1) the majority of the respondents were female, aged 31-40 years old, single status, and had education at the bachelor's level. They worked as civil servants and had an average monthly income of 10,001-20,000 baht. They used yellow-green songthaew bus services for tourism during the period of 06.01 - 12.00 hours with average of 1 - 5 times per year and the average waiting time for public buses was between 16 - 30 minutes. (2) Tourists were satisfied with using public bus services in Lampang Province at a high level. The most satisfying aspect was trust and equal service. (3) Thai tourists with personal characteristics of different education level had different levels of satisfaction in using public bus services in Lampang Province, with statistical significance of the 0.05 level. (4) Marketing mix factors that affected satisfaction in using public bus services in Lampang Province were process, price, physical evidence, personnel and place, respectively.  All of these five factors explain of the variation in satisfaction with services at 79.8 percent with statistical significance of the 0.05 level.en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ใช้บริการรถโดยสารสาธารณะในจังหวัดลำปาง (2) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดลำปางที่ใช้บริการรถโดยสารสาธารณะในจังหวัดลำปาง (3) เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดลำปางจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล และ (4) วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดลำปางการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป ที่เคยใช้บริการรถโดยสารสาธารณะในจังหวัดลำปาง ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรของคอร์แครน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 385 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอ้างอิง ได้แก่ การทดสอบที การทดสอบแบบเอฟ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 31 - 40 ปี สถานภาพโสด การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพข้าราชการ และมีระดับรายได้อยู่ในช่วง 10,001-20,000 บาทต่อเดือน โดยมีพฤติกรรมการใช้บริการรถสาธารณะ เลือกใช้บริการประเภทรถสองแถวสีเหลืองเขียว เพื่อการท่องเที่ยว ในช่วงเวลา 06.01 - 12.00 น. เฉลี่ย 1 - 5 ครั้งต่อปี และระยะเวลาเฉลี่ยในการรอคอยรถโดยสารสาธารณะระหว่าง 16 - 30 นาที (2) นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจในการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะในจังหวัดลำปางอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุด คือ ความไว้วางใจและการให้บริการอย่างเสมอภาค (3) นักท่องเที่ยวชาวไทย ที่มีลักษณะส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีระดับความพึงพอใจในการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะในจังหวัดลำปางแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะในจังหวัดลำปางมากที่สุดคือ ด้านกระบวนการ ด้านราคา ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านบุคลากร และด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ตามลำดับ ปัจจัยทั้ง 5 อธิบายความผันแปรของความพึงพอใจในการใช้บริการได้ร้อยละ 79.8 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectพฤติกรรมนักท่องเที่ยว ความพึงพอใจ รถโดยสารสาธารณะth
dc.subjectTourist behavioren
dc.subjectSatisfactionen
dc.subjectPublic bus servicesen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationOther service activitiesen
dc.titleBehavior and Satisfaction in Using Public Bus Services of Thai Tourists in Lampang Provinceen
dc.titleพฤติกรรมและความพึงพอใจในการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะ ของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดลำปางth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorChatchapon Songsoonthornwongen
dc.contributor.coadvisorชัชพล ทรงสุนทรวงศ์th
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.description.degreenameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารธุรกิจ (บธ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Business Administrationen
dc.description.degreedisciplineบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2653003042.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.