Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13560
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์th_TH
dc.contributor.authorปริสุ กรรณิกาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:57:15Z-
dc.date.available2025-01-24T08:57:15Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13560en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) เพื่อศึกษาสภาพการผลิตพืชผักตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชผักของเกษตรกร 3) เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับการผลิตพืชผักตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกร 4) เพื่อศึกษาความต้องการการส่งเสริมการผลิตพืชผักตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกร และ 5) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการส่งเสริมการผลิตพืชผักตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกร ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้พืชผักในพื้นที่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน 235 ราย กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน ที่ความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 149 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยใช้แบบสัมภาษณ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล โดยสถิติ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดลำดับ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 53.58 ปี ร้อยละ 44.3 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีประสบการณ์ในการปลูกพืชผักเฉลี่ย 15.46 ปี ได้รับการอบรมเฉลี่ย 40.9 รายได้จากการจำหน่ายเฉลี่ย 8,265.56 บาทต่อปี รายจ่ายจากการผลิตเฉลี่ย 3,109.77 บาทต่อปี (2) การผลิตพืชผักมีการปฏิบัติ ในระดับมาก (3) ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชผักเกษตรกรมีระดับมาก (4) เกษตรกรมีความต้องการในระดับมาก (5) ปัญหาภาพรวมระดับน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย 1.18 ด้านแหล่งน้ำ ค่าเฉลี่ย 2.07 ด้านพื้นที่ปลูก ค่าเฉลี่ย 1.67 ด้านสุขลักษณะส่วนบุคคล ค่าเฉลี่ย 1.65 ด้านบันทึกข้อมูลและการตามสอบ ค่าเฉลี่ย 1.61 วัตถุอันตรายทางการเกษตร ค่าเฉลี่ย 0.88 การจัดการคุณภาพในกระบวนการผลิตก่อนการเก็บเกี่ยว ค่าเฉลี่ย 0.84 การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว ค่าเฉลี่ย 0.46 และด้านการพักผลิตผลการขนย้ายในแปลงปลูกและเก็บรักษา ค่าเฉลี่ย 0.29 ตามลำดับ โดยการวิจัยครั้งนี้คาดว่าเจ้าหน้าที่นักส่งเสริม หน่วยงาน และเกษตรกรสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการหาแนวทางการวางแผนการส่งเสริม และการผลิตพืชผักตามมาตรฐานทางการเกษตรที่ดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี--ไทย--อุบลราชธานีth_TH
dc.titleแนวทางการส่งเสริมการการผลิตพืชผักตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกรอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeExtension of vegetable production in accordance with good agricultural practice standards for farmers in Warinchamrap District, Ubonratchathanien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) Knowledge about socio-economic conditions of farmers of farmers (2) vegetable production conditions according to good agricultural practice of farmers (3) Knowledge of vegetable production according to good agricultural practices of farmers (4) Needs for vegetable production extension according to good agricultural practice of farmers (5) Problems and recommendations about vegetable production according to good agricultural practice. The population of this research was 235 vegetable production farmers in warinchaprap District, Ubon Rajchatani Province who had registered as farmer with the department of agricultural extension in 2021. The sample size of 149 people was determined by used according to the Taro Yamane sample calculation formula, there is a tolerance of 0.05. and simple random sampling method by lotto selection.Tool used in this research was structured interview. Data was analyzed by using statistics such as frequency distribution, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation, and ranking. The results of the research found out that In this research, it is expected that agricultural extensionist, government authorities, and farmers can utilize the information to plan and improve the quality of vegetable produced according to good agricultural practice.en_US
dc.contributor.coadvisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2649001332.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.