Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13593
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPANISARA AEKJEENen
dc.contributorปาณิสรา เอกจีนth
dc.contributor.advisorChalermsak Toomhirunen
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:57:23Z-
dc.date.available2025-01-24T08:57:23Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued30/10/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13593-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study 1)general conditions and pineapple production conditions 2)the importance and practices according to Good Agricultural Practice 3)problems and suggestions regarding to Good Agricultural Practices 4) the comparison between the receiving and the needs for extension on Good Agricultural Practices, and 5) the analysis of factors impacting the practice according to Good Agricultural Practices and the extension guidelines for Good Agricultural Practices.This research was survey research.The population of this study was 5,368 pineapple production farmers in Prachuap Khiri Khan province. The sample size of 373 people was determined by using Taro Yamane formula with the error value of 0.06 and simple random sampling method. Data were collected by conducting interview and were analyzed by using descriptive statistics such as T-test, multiple regression analysis, and content analysis.The results of the research found that 1) farmers were male with the average age of 51.17 years old, completed higher secondary education, had the average experience in pineapple production of 24.1 years, had the average labor in the household of 2.05 people, had the average hired labors of 2.73 people, had the average pineapple production area of 26.08 Rai, earned the average income from pineapple production of  40,841.58 Baht/Rai, and had the average production cost of 25,791 Baht/Rai. Farmers grew Smooth Cayenne pineapple. Most of them grew single type of plant and distributed the products to the processing factory. 2) Farmers focused and practiced according to Good Agricultural Practices on data recording and checking, product resting, the movement in the crops, the restoration and transportation at the highest level but practiced at the moderate level. 3) Farmers faced with the problems regarding personal hygiene on the issue that they lacked the appropriate knowledge training to the practitioners as per their responsible roles at the high level.They faced with the least level of problem on the harvest and post-harvest practices. Farmers suggested on the issue of price of factors production, oversupply of the products, and pineapple disease and pest controls. 4) Farmers received the extension in every aspect at the low level. The needed the extension on the knowledge on pineapple production according to Good Agricultural Practices at the highest level regarding data recording and checking. For the extension method, farmers wanted to get the visit to their crops and field trips at the highest level. 5)The extension guidelines included the extension of pineapple production according to Good Agricultural Practices by considering the needs of farmers and through the appropriate method of extension such as the use of personal media, electronic media, publication media and the visitation to the crops, field trip, and lecture for farmers, respectively.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปและสภาพการผลิตสับปะรด 2) การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี 4) เปรียบเทียบการได้รับและความต้องการการส่งเสริมการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี และ 5) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีและแนวทางการส่งเสริมการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกร การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบบสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 5,368  ราย กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 373 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนา การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่ เกษตรกรเป็นเพศชายอายุเฉลี่ย 51.17 ปี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีประสบการณ์การปลูกสับปะรดเฉลี่ย 24.1 ปี มีแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.05 คน มีแรงงานจ้างเฉลี่ย 2.73 คน พื้นที่ปลูกสับปะรดเฉลี่ย 26.08 ไร่ รายได้จากการผลิตสับปะรด 40,841.58 บาท/ไร่ ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 25,791 บาทต่อไร่ เกษตรกรปลูกสับปะรดโดยใช้พันธุ์ปัตตาเวีย ส่วนมากปลูกเป็นพืชเชิงเดี่ยว จำหน่ายผลผลิตเข้าโรงงานแปรรูป 2) เกษตรกรให้ความสำคัญและมีการปฏิบัติตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ในด้านการบันทึกข้อมูลและการตามสอบ การพักผลผลิต การขนย้ายในแปลงปลูก การเก็บรักษาและการขนส่ง ในระดับมากที่สุด แต่การปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง 3) เกษตรกรมีปัญหาด้านสุขลักษณะส่วนบุคคล ในประเด็นขาดการอบรมความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานอย่างเหมาะสมตามหน้าที่รับผิดชอบในระดับมาก มีปัญหาน้อยที่สุดในด้านการเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว เกษตรกรให้ข้อเสนอแนะด้านปัญหาราคาปัจจัยการผลิต ปริมาณผลผลิตที่ล้นตลาด และการป้องกันกำจัดโรคและศัตรูสับปะรด 4) เกษตรกรได้รับการส่งเสริมทุกด้านในระดับน้อย มีความต้องการการส่งเสริมด้านความรู้ในการผลิตสับปะรดตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในระดับมากที่สุด ในประเด็นการบันทึกข้อมูลและการตามสอบ ส่วนวิธีการส่งเสริม เกษตรกรต้องการการเยี่ยมเยียนในแปลง และการทัศนศึกษาดูงานอยู่ในระดับมากที่สุด 5) แนวทางในการส่งเสริม คือ ส่งเสริมการผลิตสับปะรดตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี โดยพิจารณาจากความต้องการของเกษตรกร และส่งเสริมผ่านช่องทางที่เหมาะสม ได้แก่ การใช้สื่อบุคคล สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อสิ่งพิมพ์ และการเยี่ยมเยียนในแปลง ทัศนศึกษาดูงาน และการบรรยายให้แก่เกษตรกร ตามลำดับth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการผลิตสับปะรด  การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี  การส่งเสริมการผลิตth
dc.subjectPineapple Productionen
dc.subjectGood Agricultural Practiceen
dc.subjectExtension of Productionen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.subject.classificationManufacturingen
dc.titleExtension of Pineapple Production Accordance with Good Agricultural Practices by Farmers in Prachuap Khiri Khan Provinceen
dc.titleการส่งเสริมการผลิตสับปะรดตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกรในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorChalermsak Toomhirunen
dc.contributor.coadvisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster Agriculture in Agricultural Extension and Development (M.Ag. (Agricultural Extension and Development))en
dc.description.degreenameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Agriculture (Agricultural and Development)en
dc.description.degreedisciplineเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2659000323.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.