Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13596
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kwankamon Komsao | en |
dc.contributor | ขวัญกมล คำเสร้า | th |
dc.contributor.advisor | Bumpen Keowan | en |
dc.contributor.advisor | บำเพ็ญ เขียวหวาน | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:57:24Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:57:24Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 25/11/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13596 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to study 1) the personality, social, and economic of rice farmers; 2) farmers’s knowledge and knowledge sources of applying a fungal antagonist which is Trichoderma spp. fungus for rice diseases controlling in their rice farm; 3) farmers’s opinions and needs of applying of Trichoderma spp. fungus for controlling rice diseases; 4 problems and recommendations for applying Trichoderma spp. fungus for controlling rice diseases.; and 5) the factors that related to the acceptance of Trichoderma spp. fungus for rice diseases controlling of farmers.This research was survey research. The population in this research were 700 rice farmers who had registered with the Department of Agricultural Extension during 2021/2022 in Banpong Subdistrict, Wiang Pa Pao District, Chiangrai Province. With the calculation by using Taro Yamane's formula with the tolerance of 0.06, 199 farmers were interviewed by random simple selecting of sample farmers and the results were analyzed using frequency, percentage, minimum, maximum value, mean value, standard deviation, ranked, and chi-square test. The results of this research showed that 1) the average rice farmer was 61.47 years old and most of them had primary education. The average household size was 3.43, with the agricultural labor per household of 1.95. More than half of the farmer’s main occupation was farming with the average rice farm-size of 9.05 rai per household (1.448 hectares). More than half of rice farmers used their own financial resources and they were members of agricultural groups in local community with the average rice farming experience was 23.15 years; 2) the knowledge sharing of applying Trichoderma spp. fungus for controlling rice diseases in farmer’s rice farm was good. The rice farmers received the knowledge of applying Trichoderma spp. fungus from agricultural extensionist from Department of Agricultural Extension; 3) the rice farmers had positive opinion on applying Trichoderma spp. fungus for controlling rice diseases and there was high demand of Trichoderma spp. fungus; 4)there were a lot of problems on applying Trichoderma spp. for controlling rice diseases, especially the supporting and the advise on applying Trichoderma spp. for controlling rice diseases. Overall rice farmers agreed and accept to be trained to gain knowledge on applying Trichoderma spp. for controlling rice diseases.; and 5) the statistical significant level of 0.01 factors that related to the acceptance of applying Trichoderma spp. fungus for controlling rice diseases were the farmer’s age, farmer’s education level, number of agricultural laborers per household, rice farm area, financial resources, membership in agricultural groups/institutions, rice farming experience, knowledge of applying Trichoderma spp. fungus, and the needs for applying Trichoderma spp. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) สภาพส่วนบุคคล สภาพสังคม และเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ความรู้และแหล่งความรู้การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืชในนาข้าวของเกษตรกร 3) ความคิดเห็นและความต้องการการใช้ เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืชในนาข้าวของเกษตรกร 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืชในนาข้าวของเกษตรกร 5) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืชในนาข้าวของเกษตรกรการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบบสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวที่ขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตรปี 2564/2565 ในตำบลบ้านโป่ง อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย จำนวน 8 หมู่บ้าน 700 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน ที่ค่าความคลาดเคลื่อนที่ 0.06 จำนวน 199 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดอันดับ และ การทดสอบไคสแควร์ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 61.47 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.43 คน และจำนวนแรงงานภาคการเกษตรในครัวเรือนเฉลี่ย 1.95 คน เกษตรกรเกินครึ่งประกอบอาชีพเกษตร เป็นหลัก มีพื้นที่ปลูกข้าวเฉลี่ย 9.05 ไร่ เกษตรกรเกินครึ่งใช้แหล่งเงินทุนของตนเองและเป็นสมาชิกกลุ่มและมีประสบการณ์ในการปลูกข้าวเฉลี่ย 23.15 ปี 2) ความรู้เกี่ยวกับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืชในนาข้าวของเกษตรกรภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยได้รับจากสื่อบุคคล คือ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรมากที่สุด 3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา ในการควบคุมโรคพืช เกษตรกรเห็นด้วยในระดับมากและมีความต้องการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืชในนาข้าว ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 4) ปัญหาการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืชในนาข้าวมีปัญหาในระดับมากโดยเฉพาะด้านการส่งเสริมสนับสนุน และข้อเสนอแนะการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืชในนาข้าวภาพรวมเกษตรกรเห็นด้วยในระดับมากโดยเฉพาะด้านความรู้ และด้านการปฏิบัติ และ5) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืชในนาข้าวของเกษตรกรมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา จำนวนแรงงานภาคการเกษตรในครัวเรือน พื้นที่ปลูกข้าว แหล่งเงินทุน การเป็นสมาชิกกลุ่ม/สถาบัน ประสบการณ์ปลูกข้าว ความรู้การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา ความต้องการการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | การยอมรับ เชื้อราไตโคเดอร์มา ข้าว | th |
dc.subject | Acceptance | en |
dc.subject | Trichoderma spp. | en |
dc.subject | rice | en |
dc.subject.classification | Agricultural and Biological Sciences | en |
dc.subject.classification | Agriculture,forestry and fishing | en |
dc.title | The acceptance of Trichoderma spp. fungus for rice diseases controlling of farmers in Banpong Subdistrict, Wiang Pa Pao District, Chiangrai Province | en |
dc.title | การยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืชในนาข้าว ของเกษตรกรในตำบลบ้านโป่ง อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Bumpen Keowan | en |
dc.contributor.coadvisor | บำเพ็ญ เขียวหวาน | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Master Agriculture in Agricultural Extension and Development (M.Ag. (Agricultural Extension and Development)) | en |
dc.description.degreename | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Master of Agriculture (Agricultural and Development) | en |
dc.description.degreediscipline | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร) | th |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2659000364.pdf | 2.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.