Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13675
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorINTION WONGSAHAWIWATen
dc.contributorอินทิอร วงศ์สหวิวัฒน์th
dc.contributor.advisorNareerut Seerasarnen
dc.contributor.advisorนารีรัตน์ สีระสารth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:57:50Z-
dc.date.available2025-01-24T08:57:50Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued18/10/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13675-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study 1) social and economic conditions, 2) the conditions of mung bean cultivation, 3) extension of mung bean cultivation after rice fields, and 4) problems and recommendation of mung bean cultivation. The research was done by survey method. The population consisted of 200 mung bean cultivation after rice fields for farmers in Utumporn Phisai District, Sisaket Province who registered with the Department of Agricultural Extension in the production year of 2023/2024. The 134-sample size was based on the Taro Yamane with an error value of 0.05 through a simple random sampling method. Structured interviews were used for data collection. Statistics used were frequency, percentage, minimum, maximum, mean, standard deviation, and ranking.             The results indicated the following: 1) Most of the farmers were females, with an average age of 56.39 years, completed primary school. The average experience growing mung beans was 3.10 years. The average household number was 3.34. There was an average of 2.47 workers in the household and they had their agricultural land. The average annual rice cultivation area of 14.65 rai, the average area of 3.50 rai for growing mung beans behind the rice fields. The average cost of growing mung beans was 805.60 baht per rai. The average income from growing mung beans was 1,231.49 baht per rai.2) Most farmers plowed and prepared the soil once before planting, hiring tractors. Most of them grew mung beans of the KUML4 variety, growing mung beans for breeding themselves by relying on soil moisture. Most of them had plowed over rice stubble, weeds were prevented by using human labor. The most common pest found in mung bean fields was the cutworm, using household labor to harvest and sell the produce itself. 3) Farmers were extension needs for mung bean cultivation at a moderate on issues: knowledge, including mung bean varieties; prevention and elimination of insect diseases. The extension methods, individual extension methods, need a visit to their home or farm. 4) Farmers had problems of extension of mung bean cultivation after rice fields at a high level on issues: knowledge, including mung bean varieties post-harvest technology, and few distribution channels. Farmers had suggestions at a high on issues: knowledge by providing knowledge about varieties and characteristics of mung beans, methods of planting, care, diseases, and pests in mung beans. Harvesting technology and post-harvest technology. The extension of integration, to sell produce and provide a sure source of purchase, extension of goods seed production plots in the community to distribute seeds thoroughly, and exhibition campaign to transfer knowledge and new technology continuously to farmers.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจ 2) สภาพการปลูกถั่วเขียว หลังนา 3) การส่งเสริมการปลูกถั่วเขียวหลังนา 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการส่งเสริมการปลูกถั่วเขียวหลังนาของเกษตรกร การวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้ปลูกถั่วเขียวหลังนาที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกร ในอำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ปีผลิต 2566/2567 จำนวน 200 ราย โดยคำนวนจากสูตรทาโร ยามาเน ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 134 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 56.39 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษามีประสบการณ์ในการปลูกถั่วเขียวเฉลี่ย 3.10 ปี มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.34 คน มีแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.47 คน มีพื้นที่ถือครองทางการเกษตรเป็นของตนเอง มีพื้นที่ปลูกข้าวนาปีเฉลี่ย 14.65 ไร่ มีพื้นที่ปลูกถั่วเขียวหลังนาเฉลี่ย 3.50 ไร่ มีต้นทุนการปลูกถั่วเขียวเฉลี่ย 805.60 บาทต่อไร่ มีรายได้เฉลี่ยจากการปลูกถั่วเขียวเฉลี่ย 1,231.49 บาทต่อไร่ 2) เกษตรกรส่วนใหญ่ไถเตรียมดินก่อนปลูก มีการจ้างรถแทรกเตอร์ ส่วนใหญ่ปลูกถั่วเขียวพันธุ์ KUML4 ปลูกถั่วเขียวไว้ทำพันธุ์เอง ใหญ่ไถกลบตอซังข้าว มีการป้องกันกำจัดวัชพืชโดยใช้แรงงานคน แมลงศัตรูพืชที่พบในแปลงถั่วเขียวมากที่สุดคือหนอนกระทู้ ใช้แรงงานคนในครัวเรือนเก็บเกี่ยว และจำหน่ายผลผลิตเอง 3) เกษตรกรมีความต้องการการส่งเสริมการปลูกถั่วเขียวในระดับปานกลางในประเด็น ด้านความรู้ ได้แก่ พันธุ์ถั่วเขียว การป้องกันกำจัดโรคแมลง ด้านวิธีการส่งเสริม ได้แก่ วิธีการส่งเสริมแบบรายบุคคล ต้องการการเยี่ยมเยือนที่บ้านหรือไร่นา 4) เกษตรกรมีปัญหาเกี่ยวกับการส่งเสริมการปลูกถั่วเขียวหลังนาในระดับมาก ประเด็น ด้านความรู้ ได้แก่ พันธุ์ถั่วเขียว เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และช่องทางการจำหน่ายมีน้อย เกษตรกรมีข้อเสนอแนะในระดับมาก ประเด็น ด้านความรู้ โดยการให้ความรู้เรื่องพันธุ์และลักษณะของถั่วเขียว วิธีการปลูก การดูแลรักษา โรคและแมลงศัตรูพืชในถั่วเขียว เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยว และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการส่งเสริมการรวมกลุ่ม เพื่อจำหน่ายผลผลิตและจัดหาแหล่งรับซื้อที่แน่นอน ส่งเสริมการทำแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ดีในชุมชนเพื่อเป็นการกระจายเมล็ดพันธุ์ได้ทั่วถึง และมีการจัดนิทรรศการ งานรณรงค์เพื่อถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ให้แก่เกษตรกรอย่างต่อเนื่องth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectความต้องการการส่งเสริม พืชตระกูลถั่ว การปลูกถั่วเขียวหลังนาth
dc.subjectExtension needsen
dc.subjectLegumes Plantingen
dc.subjectMung bean cultivation after rice fieldsen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.subject.classificationAgriculture,forestry and fishingen
dc.subject.classificationCrop and livestock productionen
dc.titleExtension of Mung Bean Cultivation after Rice Fields for Farmers in Utumporn Phisai District, Sisaket Provinceen
dc.titleการส่งเสริมการปลูกถั่วเขียวหลังนาของเกษตรกรในอำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorNareerut Seerasarnen
dc.contributor.coadvisorนารีรัตน์ สีระสารth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster Agriculture in Agricultural Extension and Development (M.Ag. (Agricultural Extension and Development))en
dc.description.degreenameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Agriculture (Agricultural and Development)en
dc.description.degreedisciplineเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2659001941.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.