Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13687
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuppachai Songchuen
dc.contributorศุภชัย สงชูth
dc.contributor.advisorBhawat Chiamjinnawaten
dc.contributor.advisorภวัต เจียมจิณณวัตรth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:57:55Z-
dc.date.available2025-01-24T08:57:55Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued12/11/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13687-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to: 1) study the general information of maize farmers in the land reform area of Mae La Noi District, Mae Hong Son Province. 2)study agricultural waste management of maize famers and 3)propose management guidelines for market linkages of maize farmers.         This study was mixed methods research. The population for the quantitative research was 94 maize farmers in the land reform area of Mae La Noi District, Mae Hong Son Province. The sample size was 76 maize famers, determined by using Taro Yamane formula with the error value of 0.05 degree and employing a simple random sampling method. The research instrument was questionnaire to be analyzed using descriptive statistics of frequency, percentage, mean, minimum value, maximum value and standard deviation. For the qualitative research, data were gathered from two key informants representing animal feed mills, employing in–depth Interview method and the data were analyzed through content analysis.        The research findings demonstrated that 1) the maize farmers had average age of 59.32 years and had completed primary school. The average area of maize farming was 4.92 rais/farm (1 rai= 1,600 m2) with one crop per year. The average yield was 1.02 tons/rai/year, creating income of 6,589.64 baht/rai/year. Most of the maize farmers sold their produce to local consolidators. 2) In terms of agricultural waste management, most farmers (55.30%) burned weeds, while 63.20% burned maize stubble, 47.40% burned maize husks and 47.40% used maize husks as animal feed. 3) The management guidelines for market linkages of maize farmers focused on public-private partnership campaigning to stop buying maize from farmers who have burned in their planting area, along with providing additional compensation to farmers who do not burn in their planting area, so that farmers will have incentive to stop burning.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในเขตปฏิรูปที่ดินอำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 2) ศึกษาการจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตรของเกษตรกร และ 3) จัดทำแนวทางการเชื่อมโยงสู่ตลาดของเกษตรกร         การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในเขตปฏิรูปที่ดินอำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 94 คน กำหนด กลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน ที่ความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน  76 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ เชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้แทนบริษัทผลิตอาหารสัตว์ จำนวน 2 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ เชิงลึก และวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เนื้อหา        ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีอายุเฉลี่ย 59.32 ปี จบการศึกษา ระดับประถมศึกษา มีเนื้อที่ปลูกเฉลี่ย 4.92 ไร่/คน ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปีละ 1 ครั้ง ผลผลิตเฉลี่ย  1.02 ตัน/ไร่/ปี มีรายได้จาการขายผลผลิตเฉลี่ย 6,589.64 บาท/ไร่/ปี ส่วนใหญ่ขายผลผลิตให้แก่พ่อค้า ผู้รวบรวมในท้องถิ่น 2) การจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรส่วนใหญ่ใช้วิธีการเผาวัชพืช ร้อยละ 55.30 เผาตอซังข้าวโพด ร้อยละ 63.20 เผาเปลือกข้าวโพด ร้อยละ 47.40 และนำเปลือกข้าวโพดไปใช้เป็นอาหารสัตว์ ร้อยละ 47.40 และ 3) แนวทางการเชื่อมโยงสู่ตลาดของเกษตรกร โดยเน้นให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน ในการไม่รับซื้อผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เผาพื้นที่แปลงปลูก และให้ผลตอบแทนเพิ่มกับเกษตรกรที่ไม่เผาพื้นที่แปลงปลูก เพื่อให้เกษตรกรเลิกเผาพื้นที่แปลงปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ การเชื่อมโยงสู่ตลาดth
dc.subjectAgricultural Wasteen
dc.subjectMaizeen
dc.subjectMarket Linkagesen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.subject.classificationWater supply; sewerage, waste management and remediation activitiesen
dc.titleAgricultural Waste Management for Market Linkages of Maize Famers in the Land Reform Area of Mae La Noi District, Mae Hong Son Province.en
dc.titleการจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อการเชื่อมโยงสู่ตลาด ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในเขตปฏิรูปที่ดิน อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอนth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorBhawat Chiamjinnawaten
dc.contributor.coadvisorภวัต เจียมจิณณวัตรth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster Agriculture in Agricultural Resource Management (M.Ag. (Agricultural Resources Management))en
dc.description.degreenameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการทรัพยากรเกษตร (กษ.ม. (การจัดการทรัพยากรเกษตร))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Agriculture (Agricultural Resources Management)en
dc.description.degreedisciplineเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรเกษตร)th
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2659002238.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.