Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13690
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKANNIKA SIKAEWTUNGen
dc.contributorกรรณิการ์ ศรีแก้วตุงth
dc.contributor.advisorNareerut Seerasarnen
dc.contributor.advisorนารีรัตน์ สีระสารth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:57:57Z-
dc.date.available2025-01-24T08:57:57Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued21/10/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13690-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1)  สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) สภาพการผลิตมะม่วงของเกษตรกร 3) ความรู้เกี่ยวกับการผลิตมะม่วงตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกร 4) ความต้องการการส่งเสริมการผลิตมะม่วงตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกร 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการส่งเสริมการผลิตมะม่วงตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกร            การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบบสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้ผลิตมะม่วงในอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตร ปี 2565/66 จำนวน 182 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตร ทาโร ยามาเน ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 126 ราย โดยวิธีสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ด้วยการแจกแจงความถี่  ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการจัดอันดับ            ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรเป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 60.20 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีประสบการณ์ในการผลิตมะม่วงเฉลี่ย 7.53 ปี และเข้ารับการฝึกอบรมมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในรอบปีที่ผ่านมาเฉลี่ย 0.72 ครั้งต่อปี มีรายได้จากการผลิตมะม่วงเฉลี่ย 11,427.38 บาทต่อปี มีรายจ่ายที่ใช้ในการผลิตมะม่วงเฉลี่ย 1,769.29 บาทต่อปี พื้นที่ในการผลิตมะม่วงเฉลี่ย 3.05 ไร่ 2) เกษตรกรปลูกมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้ ดินที่ปลูกเป็นดินเหนียว ปลูกมะม่วงระยะห่าง2.5x2.5 เมตร มีการปรับปรุงบำรุงดินและเก็บเกี่ยวมะม่วงในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน โรคที่พบคือโรคช่อดอกดำ และเพลี้ยจั๊กจั่น ผลผลิตมะม่วงเฉลี่ย 223.17 กิโลกรัมต่อไร่ จำหน่ายมะม่วงราคาเฉลี่ย 55.00 บาทต่อกิโลกรัม 3) เกษตรกรมีความรู้ในการผลิตมะม่วงตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในระดับมาก ในประเด็นด้านการเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว 4) เกษตรกรมีความต้องการการส่งเสริมระดับมากที่สุด ในประเด็นด้านระบบมาตรฐานการผลิต คือต้องการให้มะม่วงที่ได้รับมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี จำหน่ายในราคาที่สูงกว่ามะม่วงทั่วไป 5) เกษตรกรมีปัญหาเรื่องขาดการสนับสนุนให้มะม่วงที่ได้รับมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ประเด็น การจำหน่ายในราคาที่สูงขึ้น และมีข้อเสนอแนะ ควรมีการรวมกลุ่มของเกษตรผู้ผลิตมะม่วงที่ได้รับมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี เพื่อเสริมสร้างอำนาจการต่อรองในการเจรจาและปกป้องผลประโยชน์ให้แก่สมาชิกภายในกลุ่มen
dc.description.abstractThe research was survey method. The population consisted of 182 mango farmers in in Nong Saeng District, Saraburi Province who registered with the Department of Agricultural Extension in the production year of 2022/2023. The 126-sample size was based on Taro Yamane formula with an error value of 0.05 through simply random sampling method. Structured interviews were used for data collection. Statistics used were frequency, percentage, minimum, maximum, mean, standard deviation, and ranking.th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการส่งเสริมการผลิต การผลิตมะม่วง  การผลิตมะม่วงตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีth
dc.subjectExtension productionen
dc.subjectMango productionen
dc.subjectMango production in accordance with good agricultural practicesen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.subject.classificationAgriculture,forestry and fishingen
dc.subject.classificationCrop and livestock productionen
dc.titleExtension of Mango Production Accordance with Good Agriculture Practices for Farmers in Nong Saeng, Saraburi Provinceen
dc.titleการส่งเสริมการผลิตมะม่วงตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกรในอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorNareerut Seerasarnen
dc.contributor.coadvisorนารีรัตน์ สีระสารth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster Agriculture in Agricultural Extension and Development (M.Ag. (Agricultural Extension and Development))en
dc.description.degreenameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Agriculture (Agricultural and Development)en
dc.description.degreedisciplineเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2659002279.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.