Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13710
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ส่งเสริม หอมกลิ่น | th_TH |
dc.contributor.author | วราภรณ์ หนูพันธ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:58:06Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:58:06Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13710 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (สหกรณ์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566 | th_TH |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการของสมาชิกในการดำเนินงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนศิลางาม จำกัด 2) เปรียบเทียบความต้องการของสมาชิกในการดำเนินงานสหกรณ์ ตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) ศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานสหกรณ์ การวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ สมาชิกสหกรณ์ ณ วันสิ้นปีบัญชี 2566 จำนวน 329 คน กำหนดขนาดตัวอย่าง จากสูตรของทาโร ยามาเน ที่ค่าความคลาดเคลื่อน 0.05 จำนวน 181 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิติทดสอบเอฟ การจัดลำดับ และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ความต้องการของสมาชิกในการดำเนินงานสหกรณ์ ได้แก่ (1) ด้านสินเชื่อโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับดังนี้ ด้านบุคลากร/เจ้าหน้าที่ให้บริการ ผลิตภัณฑ์เงินกู้ระยะสั้น/ฉุกเฉิน กระบวนการให้บริการเงินกู้ มาตรการการให้สินเชื่อ ผลิตภัณฑ์เงินกู้สามัญ ช่องทางการประชาสัมพันธ์เงินกู้ และราคาสินเชื่อ ตามลำดับ (2)ด้านเงินรับฝาก โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับดังนี้ ด้านลักษณะทางกายภาพสถานที่ของสหกรณ์ ราคาหรืออัตราดอกเบี้ย ช่องทางและการประชาสัมพันธ์และผลิตภัณฑ์เงินรับฝากตามลำดับ (3) ด้านสวัสดิการและอื่นๆโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับดังนี้ ด้านการคงสวัสดิการคุ้มครองเงินกู้เมื่อเสียชีวิต และเพิ่มสวัสดิการนอนโรงพยาบาล 2) เปรียบเทียบความต้องการของสมาชิกในการดำเนินงานสหกรณ์ (1) ด้านสินเชื่อ โดยสมาชิกที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน และค่าใช้จ่ายต่อเดือนแตกต่างกันมีความต้องการในการดำเนินงานที่แตกต่างกัน(p<0.05) (2)ด้านเงินรับฝาก โดยสมาชิกที่มี อายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และค่าใช้จ่ายต่อเดือน แตกต่างกันกันมีความต้องการในการดำเนินงานที่แตกต่างกัน (p<0.05) 3) ปัญหา และอุปสรรค ในการดำเนินงาน คือ การไม่เข้าใจกฎระเบียบ วันทำการสหกรณ์จันทร์-ศุกร์ไม่ตรงกับวันหยุดของสมาชิก และชำระเงินกู้คืนไม่ได้ตามกำหนด ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการ ดำเนินงานสหกรณ์ คือ ให้สหกรณ์จัดให้มีสวัสดิการเพิ่ม และให้สหกรณ์แจ้งข่าวสารประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนศิลางาม--การบริหาร | th_TH |
dc.title | ความต้องการในการพัฒนาการดำเนินงานของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนศิลางาม จำกัด จังหวัดสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Operational development needs of the Silangam Credit Union Cooperative Limited | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were 1) to study the needs of members in the operations of Silangam credit union cooperative limited 2) to compare the needs of the members in the operations of the cooperative as per personal factors and 3) to study problems, obstacles, and suggestions in the operational development guidelines of the cooperative. This research was survey research. The population of this study was 329 cooperative members at the end of the end of 2023 fiscal year. The sample size of 181 people was determined by using Taro Yamane formula with the error value of 0.05. Tool used in this research was questionnaire and utilized simple random sampling method. Statistics applied in the data analysis were such as frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test and F-test, ranking, and content analysis. The results of the research found that 1) needs of the members in the cooperative operation included (1) regarding the credit aspect, it was overall, at the high level. It ranked from personnel/service officer, short term/ emergency loan product, process of loan service, credit giving regulations, ordinary loan products, channel of loan public relations, and credit pricing, respectively; (2) regarding the deposits, overall, they were at the high level with the ranking from physical location attributes of the members, price or interest rate, channel and public relations, and deposit products, respectively ;(3) for the benefits and other aspects, overall, were at the high level with the raking as followed: the remaining of loan protection benefit of the deceased and the increase of in-patient benefit.2) The needs comparison of the members in the cooperative operation were such as (1) regarding the credit aspect, different gender, age, level of education, profession, monthly income, and monthly expense had different needs in the operation (p<0.05) ; (2) regarding the deposits, members with different age, level of education, monthly income, and monthly expense had different needs in the operation (p<0.05) . 3) Problems and obstacles in the operation were such as the not understanding of regulations, the unmatched between the shop closing and holiday time, and unable to repay the loan as per pre-determined process. The suggestions of the operational development of the cooperatives were such as giving cooperative with higher benefits and let cooperative notified more news and information. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วิลาวัลย์ ศิลปศร | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2659002808.pdf | 1.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.