Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13757
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวยth_TH
dc.contributor.authorสมเกียรติ อุทัยวงษ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาการบริหารทางการพยาบาลth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T09:05:31Z-
dc.date.available2025-01-24T09:05:31Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13757en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารทางการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง บรรยากาศนวัตกรรมในองค์การ ความผูกพันในงาน และพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 3 และ (2) ความสามารถในการทำนายของปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยด้านองค์การ ต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ การวิจัยเชิงพรรณนานี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 3 ที่มีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 1 ปี จำนวน 166 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มี 5 ส่วน ประกอบด้วย (1)ปัจจัยส่วนบุคคล (2)ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (3) บรรยากาศนวัตกรรมในองค์การ(4)ความผูกพันในงาน และ(5)พฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงาน ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาในส่วนที่ 2,3,4 และ 5 มีค่าเท่ากับ 0.82, 0.87, 0.90 และ 0.88 ตามลำดับ และมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.94, 0.97, 0.95 และ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพรรณนา สถิติการทดสอบการถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอนผลการศึกษาพบว่า (1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารหน่วยบริการปฐมภูมิ บรรยากาศนวัตกรรมในองค์การ ความผูกพันในงาน และพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในหน่วยบริการปฐมภูมิโดยรวมอยู่ในระดับมาก และ (2) ความผูกพันในงานและบรรยากาศนวัตกรรมในองค์การ สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในหน่วยบริการปฐมภูมิได้ร้อยละ 67.60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงth_TH
dc.subjectบรรยากาศนวัตกรรมth_TH
dc.subjectความผูกพันในงานth_TH
dc.subjectพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาการบริหารทางการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 3th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting innovative work behavior of professional nurses in Primary Care Units , the Health Region 3en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารทางการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาการบริหารทางการพยาบาลth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: (1) to study the transformation leadership, organizational climate for innovation, work engagement, and innovative work behavior as perceived by professional nurses in primary care units in Health Region 3 and (2) to examine the predictive power of personal factors, transformation leadership, organizational climate for innovation, and work engagement on innovative work behavior of professional nurses in primary care units. This descriptive research sample included 166 professional nurses who had worked more than one year at primary care units in Health Region 3. The stratified random sampling technique was employed. The research tool was a questionnaire composed of 5 parts: (1) personal factors, (2) transformational leadership, (3) organizational climate for innovation, (4) work engagement, and (5) innovative work behavior. When checked for content validity, the content validity indexes of parts 2, 3, 4, and 5 of the questionnaires were obtained as 0.82, 0.87, 0.90, and 0.88, respectively. The Cronbach's alpha coefficient of the questionnaire was 0.94, 0.97, 0.95 and 0.96. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square test, and stepwise multiple regression.The major findings were as follows. (1) The overall transformation leadership, organizational climate for innovation, work engagement and innovative work behavior were all at the high level. Finally, (2) Organizational climate for innovation and work engagement influenced and statistically predicted the variances of innovative work behavior of professional nurses at 67.60 percent at the .05 significance level.en_US
dc.contributor.coadvisorกาญจนา ศรีสวัสดth_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2635100106.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.