Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13783
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรางคณา จันทร์คง | th_TH |
dc.contributor.author | สุดฤทัย รัตนโอภาส | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-27T00:56:56Z | - |
dc.date.available | 2025-01-27T00:56:56Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13783 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพ (2) ระดับการเรียนรู้ส่วนบุคคลและระดับภาวะผู้นำ ปัจจัยด้านองค์กร และปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านองค์กร และปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพ ของโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชุมพร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจทำการศึกษาในบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชุมพร จำนวน 365 คน จากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามรวมทั้งฉบับเท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชุมพร ในภาพรวมอยู่ในระดับค่อนข้างมาก (2) ระดับการเรียนรู้ส่วนบุคคลและระดับภาวะผู้นำ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านองค์กรและปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในภาพรวมอยู่ในระดับค่อนข้างมาก (3) อายุ ประสบการณ์การทำงาน ปัจจัยด้านองค์กรทั้ง 8 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้นำ ด้านวัฒนธรรมองค์กร ด้านวิสัยทัศน์ ด้านยุทธศาสตร์ ด้านโครงสร้างองค์กร ด้านการจัดการความรู้ ด้านบรรยากาศองค์กร และด้านการจูงใจ ส่วนปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสัมพันธ์กับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชุมพร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน--ไทย--ชุมพร--การรับรองคุณภาพ | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้องค์การ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชุมพร | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to being a learning organization in quality development of community hospitals, Chumphon Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to explore (1) the level of being a learning organization in quality development, (2) the level of personal learning and leadership, organizational factors and information technology factors, and (3) the relationship between personal, organizational and information technology factors and being a learning organization in quality development of community hospitals in Chumphon province.This survey research was conducted in a sample of 365 public health personnel, randomly selected form those who were working in community hospitals in Chumphon. The research instrument was a questionnaire that had been checked for content validity by experts and its confidence value was 0.91. Data were collected and then analyzed using statistics, including percentages, means, standard deviations, and chi-square test.The results showed that: (1) the overall level of being a learning organization in quality development of community hospitals in Chumphon was rather high; (2) the overall levels of personal learning and leadership were high; the overall levels of organizational and information technology factors were also rather high; and (3) age, work experience, organizational factors eight aspects: leadership, organizational culture, vision, strategy, organizational structure, knowledge management, organizational atmosphere, motivation and information technology factors were significantly related to being a learning organization in quality development of community hospitals in the province (p = 0.05). | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อารยา ประเสริฐชัย | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2635001429.pdf | 2.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.