กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13788
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬารth_TH
dc.contributor.authorกีรติกานต์ ไตรยางค์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2025-01-27T00:56:59Z-
dc.date.available2025-01-27T00:56:59Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13788en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของทันตาภิบาล (2) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของทันตาภิบาล และ (3) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของทันตาภิบาล เขตสุขภาพที่ 8 ตามปัจจัยส่วนบุคคลการศึกษาเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางครั้งนี้กำหนดประชากรในการศึกษา คือ ทันตาภิบาลในเขตสุขภาพที่ 8 จำนวน 598 คน คำนวณขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการประมาณค่าเฉลี่ยประชากรได้จำนวน 260 คน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือในการเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความตรงจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คนมีค่าเท่ากับ 1 และตรวจสอบความเที่ยงมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการทดสอบของครัสคาล-วอลลิสผลการศึกษาพบว่า (1) ทันตาภิบาลส่วนใหญ่อายุระหว่าง 25-30 ปี (ร้อยละ 40.40) มีระยะเวลาที่ปฏิบัติงานอยู่ระหว่าง 5 – 10 ปี (ร้อยละ 40.00) และมีสถานภาพโสด (ร้อยละ 60.40) ดำรงตำแหน่งเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข (ร้อยละ 60.40) ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล รายได้เฉลี่ยต่อเดือนเท่ากับ 22,129.15 บาท (2) คุณภาพชีวิตในการทำงานภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.79, S.D. = 0.53) โดยคุณภาพชีวิตในการทำงานรายด้านที่อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ความเป็นประโยชน์ต่อสังคม ความสมดุลระหว่างชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว สัมพันธภาพในองค์กร โอกาสพัฒนาศักยภาพ สิทธิส่วนบุคคล สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ และความมั่นคงและความก้าวหน้าในงาน และ (3) เมื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพรวมตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในด้านระยะเวลาปฏิบัติงานของทันตาภิบาลและรายได้ต่อเดือนของทันตาภิบาลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectทันตาภิบาลth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุขth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตในการทำงานของทันตาภิบาล เขตสุขภาพที่ 8th_TH
dc.title.alternativeQuality of work life of Dental Hygienists in Health Region 8en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to explore personal factors of dental hygienists, (2) to determine the level of quality of work life of dental hygienists, and (3) to compare the quality of work life of dental hygienists in Health Region 8 according to personal factors.This cross-sectional survey study involved 260 dental hygienists, selected using the stratified sampling from all 598 such personnel in Health Region 8. The sample size was calculated using the population mean estimation formula. Data were collected using a questionnaire that had been checked for validity by three experts. The questionnaire’s content validity and reliability values were 1 and 0.94, respectively. Statistics used included frequency, percentage, mean, median, standard deviation and Kruskal-Wallis test.The results showed that, among respondents: (1) the largest age group (40.4%) was 25–30 years old; 40% had a job tenure of 5–10 years; 60.4% were single; 60.4% worked as dental health officers at subdistrict (tambon) health promoting hospitals; and had an average monthly income of 22,129.15 Baht; (2) their overall quality of work life was at a high level (mean = 3.79, SD = 0.53); the quality of work life in each aspect was at a high level, including social relevance, work-life balance, organizational human relations, capacity building opportunities, personal rights, safe and healthy environments, and job security / career path; and (3) by comparison, their overall work-life quality was significantly different, depending on job tenures and monthly income  p < 0.05.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Health-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2645000353.pdf1.03 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น