Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13801
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อนัญญา ประดิษฐปรีชา | th_TH |
dc.contributor.author | ไอลดา ขุมเงิน | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-27T00:57:08Z | - |
dc.date.available | 2025-01-27T00:57:08Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13801 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้บทบาทและความพร้อมในการทำงานขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดจันทบุรี (2) ระดับความพร้อมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรี และ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดจันทบุรี การศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางนี้ ทำการศึกษาในประชากร คือ บุคลากรขององค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรี จำนวน 275 คน คำนวนขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการประมาณค่าเฉลี่ยของประชากรกรณีทราบจำนวนประชากรและใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 139 คน เครื่องมือ คือ แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณเชิงเส้น ผลการศึกษา พบว่า (1) บุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 21 – 30 ปี ระดับการศึกษาอยู่ในระดับอนุปริญญา/ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ส่วนใหญ่มีตำแหน่งเป็นข้าราชการ/ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งปัจจุบันน้อยกว่า 5 ปี และมีรายได้โดยเฉลี่ย 10,000 – 20,000 บาท มีการรับรู้บทบาทและความพร้อมในการทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดจันทบุรี อยู่ในระดับปานกลาง (2) ความพร้อมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรีต่อการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อยู่ในระดับปานกลาง และ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดจันทบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05)ได้แก่ ตำแหน่งงานและความพร้อมในการทำงานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ ่นเกี ่ยวกับการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดจันทบุรี ซึ่ง สามารถร่วมกันทำนายความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ ่นต่อการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดจันทบุรีได้ร้อยละ 33.7 (R2 = 0.337) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting the readiness of local administrative organizations to get transferred missions of Subdistrict Health Promoting Hospitals: a case study of Chanthaburi Provincial Administrative Organization | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to explore (1) personal factors, perceived roles, and work readiness of a local administrative organization (LAO), (2) the level of readiness of the Chanthaburi Provincial Administrative Organization (PAO), and (3) factors affecting the readiness of the LAO, all involving the transfer of missions of subdistrict health promoting hospitals (THPHs) to the Chanthaburi PAO. This study was a cross-sectional analytical study. The study involved a sample of 139 personnel randomly selected from 275 personnel working at the Chanthaburi PAO. The sample size was calculated using a formula to estimate the population mean. Data were collected using a questionnaire with a reliability value of 0.98, and statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple linear regression analysis. The results revealed that, among the 139 Chanthaburi PAO personnel (respondents): (1) most of them were female, aged 21–30 years, had obtained an associate/bachelor’s degree or equivalent, had been working as PAO officials for less than 5 years, had a monthly income of 10,000–20,000 baht, and had perceived roles and readiness related to the THPH–LAO mission transfer in the province at a moderate level; (2) the level of readiness of the Chanthaburi PAO for the THPH mission transfer was at a moderate level; and (3) the factors significantly affecting the readiness of the Chanthaburi PAO in receiving the transferred missions of THPHs in the province (p-value < 0.05) included job positions and PAO’s work readiness, all of which could predict the readiness for the THPH–LAO mission transfer in the province at 33.7% (R2 = 0.337) | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2645000635.pdf | 1.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.