Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13809
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมโภช รติโอฬาร | th_TH |
dc.contributor.author | กุสุมา ศรีปลั่ง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-27T00:57:14Z | - |
dc.date.available | 2025-01-27T00:57:14Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13809 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ของ อาสาสมัครสาธารณสุขในการป้องกันโรคไข้เลือดออกก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมพัฒนาศักยภาพ 2) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะของอาสาสมัครสาธารณสุขในการใช้แอปพลิเคชันและทักษะในการใช้แอปพลิเคชัน อสส. ออนไลน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมพัฒนาศักยภาพ และ 3) ศึกษาความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชัน อสส. ออนไลน์ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบกึ่งทดลองใช้โปรแกรมพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข โดยให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและการป้องกันผ่านแอปพลิเคชัน อสส. ออนไลน์ ในกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร จำนวน 40 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ประเมินแบบทดสอบก่อน-หลังเข้าร่วมโปรแกรมพัฒนาศักยภาพและแบบประเมินความพึงพอใจ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ด้วยวิธีการหาดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามซึ่งพบว่ามีค่าเท่ากับ 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่มที่มีความสัมพันธ์กันผลการศึกษาพบว่า 1) หลังเข้าร่วมโปรแกรมพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมพัฒนาศักยภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.01) 2) ทักษะในการใช้งานแอปพลิเคชัน อสส. ออนไลน์และทักษะในการใช้แอปพลิเคชัน อสส. ออนไลน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกหลังเข้าร่วมโปรแกรมพัฒนาศักยภาพและหลังเข้าร่วม โปรแกรมพัฒนาศักยภาพ 2 สัปดาห์ สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมพัฒนาศักยภาพ อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (p-value <0.01) และ 3) ระดับความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชัน อสส. ออนไลน์ในการป้องกัน โรคไข้เลือดออกอยู่ในระดับมากที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรคไข้เลือดออก--การป้องกัน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขในการป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยแอปพลิเคชัน อสส. ออนไลน์ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Effectiveness of capacities building program for Bangkok Health Volunteers for Dengue Hemorrhagic Fever Prevention by using a BHV Online Application in Ratchathewi District, Bangkok Metropolitan Administration | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study used a quasi-experimental approach aiming to (1) compare theaverage knowledge scores of Bangkok Health Volunteers (BHVs) in denguehemorrhagic fever (DHF) prevention before and after implementing the capacitybuilding program, (2) compare the average skill scores of BHVs in utilizing theBHV Online application and their proficiency in using it for DHF preventionbefore and after implementing the capacity building program, and (3) investigatethe BHVs’ satisfaction levels in using the BHV Online application for DHFprevention.The study used the capacity building program for BHVs to provideknowledge about DHF and its prevention through the BHV Online applicationamong BHVs in Bangkok’s Ratchathewi district. Forty BHVs selected usingsimple random sampling participated in theprogram. Participants underwent pre-and post-tests regarding the capacity building program and their satisfaction levelsthat were tested for content validity by three experts. The content validity indexwas equal to 1. Descriptive statistics, including percentages, mean, standarddeviation, and pairedt-tests, were used for data analysis.The findingsshowed that, among the BHVs/participants: (1) afterparticipating in the capacity building program, they demonstrated significantlyhigher knowledge levels about DHF compared to before the programimplementation (p-value < 0.01); (2) their proficiency in using the BHV Onlineapplication and skills in utilizing it for DHF prevention were significantly higherboth after the program and two weeks post-program, compared to before theprogram (p-value < 0.01); and (3) their satisfaction levels in using the BHV Onlineapplication for DHF prevention were at the highest level. | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2645000890.pdf | 5.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.