Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13819
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวลัญช์ วัฒนเดชไพศาลth_TH
dc.contributor.authorปิติภัทร มาทาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-27T01:04:30Z-
dc.date.available2025-01-27T01:04:30Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13819en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการส่งเสริมชุมชนเข้มแข็งบนพื้นฐานชุมชนาธิปไตยในพื้นที่บ้านผาแดง ตำบลบ้านร้อง อำเภองาว จังหวัดลำปาง (2) ปัญหาและอุปสรรคของการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการส่งเสริมชุมชนเข้มแข็งบนพื้นฐานชุมชนาธิปไตยในพื้นที่บ้านผาแดง ตำบลบ้านร้อง อำเภองาว จังหวัดลำปาง (3) ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไขปัญหาของการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการส่งเสริมชุมชนเข้มแข็งบนพื้นฐานชุมชนาธิปไตยในพื้นที่บ้านผาแดง ตำบลบ้านร้อง อำเภองาว จังหวัดลำปางการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรมีทั้งหมด 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มคณะกรรมการหมู่บ้าน กลุ่มปราชญ์ชุมชน กลุ่มบุคคลทั่วไปในชุมชน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง รวม 15 คน เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาผลการศึกษาพบว่า (1) การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการส่งเสริมชุมชนเข้มแข็งบนพื้นฐาน ชุมชนาธิปไตยในพื้นที่บ้านผาแดงที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 4 ด้าน ได้แก่ การรวมตัวกันของสมาชิกชุมชน การสร้างเครือข่ายชุมชน การสร้างสรรค์วัฒนธรรมชุมชน และการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนแบบพึ่งพาตนเอง (2) ปัญหาและอุปสรรคของการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในพื้นที่บ้านผาแดง คือ การขาดความรู้ในกระบวนการจัดทำแผนชุมชน เครือข่ายชุมชนขาดความสามัคคี ไม่สามารถรวมตัวกันในการพัฒนาหมู่บ้าน รวมทั้งขาดการบริหารจัดการขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง (3) ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไขปัญหาของการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในพื้นที่บ้านผาแดง ดังนี้ การเพิ่มทักษะวิทยากรกระบวนการของคณะกรรมการหมู่บ้านในการจัดทำแผนชุมชน การส่งเสริมกลยุทธ์กลุ่มของเครือข่ายชุมชน การปลูกฝังประชาชนให้มีวัฒนธรรมประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม รวมทั้งมีการประชุมถอดบทเรียน เพื่อวางแผน ขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดความยั่งยืนในอนาคตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการพัฒนาชุมชน--ไทย--ลำปาง--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectประชาธิปไตยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการส่งเสริมชุมชนเข้มแข็งบนพื้นฐาน ชุมชนาธิปไตย : กรณีศึกษา บ้านผาแดง ตำบลบ้านร้อง อำเภองาว จังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativePublic participation in contributing to the community strength upon democratic community : a case study of Baan Pha Daeng, Ban Rong Sub-district, Ngao District, Lampang Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) public participation in contributing to the community strength upon democratic community in the area of Baan Pha Daeng, Ban Rong Sub-district, Ngao District, Lampang Province, (2) problems and obstacles of public participation in contributing to the community strength upon democratic community in the area of Baan Pha Daeng, Ban Rong Sub-district, Ngao District, Lampang Province, (3) suggesting solutions to problems of public participation in contributing to the community strength upon democratic community in the area of Baan Pha Daeng, Ban Rong Sub-district, Ngao District.             This research is a qualitative research. The 3 populations of this study were the groups of village committees, local wisdom members and general public, who were selected by a purposive sampling method in a total of 15 people. The research instruments used in this study were interview forms and descriptive data analysis.            The study found that: (1) Public participation in contributing to the community strength upon democratic community in the area of Baan Pha Daeng consisting of 4 main activities i.e. gathering of community members, creating a community network, community culture creation and the development of a self-dependent community economy. (2) Problems and obstacles of public participation in the area Baan Pha Daeng are a lack of knowledge in the community development plan preparation process, unable to unite in village development, including the lack of management to drive continuous community development activities. (3) it is recommended that  public participation in the area of Baan Pha Daeng can be achieved by increasing the skills of village committee facilitators in preparing community development plans, promoting group strategies of community networks cultivation citizens to have a participatory democratic political culture ,including there was also a meeting to take lessons learned to plan and drive village development activities for sustainability in the future.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2608000622.pdf3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.