Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13841
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | ADOON RALUEKMOON | en |
dc.contributor | อดูลย์ ระลึกมูล | th |
dc.contributor.advisor | Thasothorn Tootongkam | en |
dc.contributor.advisor | ธโสธร ตู้ทองคำ | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-27T01:04:40Z | - |
dc.date.available | 2025-01-27T01:04:40Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 7/6/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13841 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research (1) were to study the conflict situations between Pa Khlok subdistrict municipality and the Ban Ao Kung mangrove forest conservation group in a case of public channel dredging from 2019 to 2022, (2) to identify causes of conflicts between Pa Khlok subdistrict municipality and the Ban Ao Kung mangrove forest conservation group in the case of public channel dredging from 2019 to 2022, (3) to indicate conflict issues between Pa Khlok subdistrict municipality and the Ban Ao Kung mangrove forest conservation group in the case of public channel dredging from 2019 to 2022, and (4) to study impacts and solutions to resolve conflicts between Pa Khlok subdistrict municipality and the Ban Ao Kung mangrove forest conservation group in the case of public channel dredging from 2019 to 2022.This study was qualitative research based on a literature review and interviews using a purposive sampling method, divided into six groups consisting of (1) local politicians, (2) government officers, (3) Ban Ao Kung mangrove forest conservation group, (4) owner of the Ao Kung Marina project, (5) academics and local media, and (6) people in the area, totaling 16 people. The research tools were data collection and interview forms, and the data were used for descriptive data analysis. The research found that (1) the conflict situations were raised by villagers in Village No. 9, Ban Ao Kung, who were mostly involved in coastal and deep-sea fishing. However, fishing operations were limited in that boats could dock at the port by waiting for the high tide. Therefore, this group was assembled to propose a dredging project to solve this problem. After the municipality accepted the proposal, the mangrove conservation group came together to against the dredging project. (2) The causes of the conflict consisted of the government administration's failure to consider and listen to opinions covering all aspects, including expectations of benefits from development in the area, the traditional way of life of the community, and the natural resources and ecosystems that may be destroyed. (3) The main conflict issues included the dredging project in the municipality's development plan, preserving natural resources and ecosystems in the area to maintain traditional ways of life, and different occupations. (4) The impacts of the halted dredging project did not have any impact on the community. On the other hand, if the dredging project was completed, the state would collect more taxes from upcoming development project. The local people could bring their boats to the pier at any time. However, for conservation groups, the traditional way of life in coastal fishing and the ecosystem would be destroyed. The solution was that the conservation group used the judicial process to end the Marina project. All parties hoped that peace and compromise would be able to end the conflict between the Pa Khlok subdistrict municipality and the Ban Ao Kung mangrove forest conservation group. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพปัญหาความขัดแย้งระหว่างเทศบาลตำบลป่าคลอก กับกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านอ่าวกุ้ง กรณีการขุดลอกร่องน้ำสาธารณประโยชน์ (พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ. 2565) (2) สาเหตุที่นำไปสู่ปัญหาความขัดแย้งระหว่างเทศบาลตำบลป่าคลอกกับกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านอ่าวกุ้ง กรณีการขุดลอกร่องน้ำสาธารณประโยชน์ (พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ. 2565) (3) ประเด็นปัญหาความขัดแย้งระหว่างเทศบาลตำบลป่าคลอกกับกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านอ่าวกุ้ง กรณีการขุดลอกร่องน้ำสาธารณประโยชน์ (พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ. 2565) (4) ผลกระทบและแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างเทศบาลตำบลป่าคลอกกับกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านอ่าวกุ้ง กรณีการขุดลอกร่องน้ำสาธารณประโยชน์ (พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ. 2565) งานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์ โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างเฉพาะเจาะจง แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม ประกอบด้วย (1) นักการเมืองท้องถิ่น (2) เจ้าหน้าที่ของรัฐ (3) กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านอ่าวกุ้ง (4) นักธุรกิจ (5) นักวิชาการและสื่อมวลชนท้องถิ่น และ (6) ประชาชนในพื้นที่ รวมเป็นจำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบเก็บเอกสารและแบบสัมภาษณ์ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพปัญหาความขัดแย้งเกิดจากประชาชนบ้านอ่าวกุ้งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมงชายฝั่งและประมงน้ำลึก แต่การทำประมงมีข้อจำกัดในการนำเรือเข้าจอดเทียบท่าโดยต้องรอช่วงน้ำขึ้นเท่านั้น จึงมีการรวมตัวเสนอโครงการขุดลอกเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว หลังจากที่เทศบาลตำบลป่าคลอกรับทราบปัญหาและความต้องการแล้วได้นำไปบรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งในเวลาต่อมากลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนฯ ได้มีการรวมตัวคัดค้านและเคลื่อนไหวยับยั้งไม่ให้มีการขุดลอกร่องน้ำฯ (2) สาเหตุที่นำไปสู่ปัญหาความขัดแย้ง พบว่า การบริหารงานราชการของภาครัฐที่มีการพิจารณาและการรับฟังความเห็นไม่ครอบคลุมทุกกลุ่ม รวมถึงความคาดหวังผลประโยชน์จากการพัฒนาในพื้นที่ วิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชนและทรัพยากรธรรมชาติรวมถึงระบบนิเวศที่อาจถูกทำลายเป็นสาเหตุของความขัดแย้งที่เกิดขึ้น (3) ประเด็นปัญหาความขัดแย้ง พบว่า การนำนโยบายการขุดลอกร่องน้ำฯ เข้าในแผนพัฒนาท้องถิ่นของเทศบาลฯ เป็นการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศในพื้นที่ ซึ่งกลุ่มอนุรักษ์ฯ ต้องการให้มีการรักษาวิถีชีวิตดั้งเดิม การประกอบอาชีพที่แตกต่างกันล้วนเป็นประเด็นหลักของความขัดแย้งที่เกิดขึ้น (4) ผลกระทบและแนวทางการแก้ไขความขัดแย้ง พบว่า หากไม่มีการขุดลอกร่องน้ำฯ ก็จะไม่ส่งผลกระทบด้านใดกับชุมชน แต่หากให้มีการขุดลอกร่องน้ำฯ จนแล้วเสร็จ รัฐจะเก็บภาษีได้มากขึ้นจากการพัฒนาพื้นที่และโครงการมารีน่าที่จะเกิดขึ้น ชาวบ้านจะนำเรือเทียบท่าเรือได้ตลอด เวลา แต่สำหรับกลุ่มอนุรักษ์ฯ มองว่าวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมในด้านการทำประมงชายฝั่งรวมถึงระบบนิเวศจะถูกทำลาย และแนวทางการแก้ไข พบว่า กลุ่มอนุรักษ์ฯ ได้อาศัยกระบวนการยุติธรรมเพื่อไม่ให้มีการขุดลอกฯ และเพื่อยุติปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ สันติวิธีหรือการประนีประนอมเป็นสิ่งที่ทุกฝ่ายคาดหวังว่าจะสามารถยุติความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างเทศบาลตำบลป่าคลอกกับกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านอ่าวกุ้งได้ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านอ่าวกุ้ง | th |
dc.subject | การขุดลอกร่องน้ำสาธารณประโยชน์ | th |
dc.subject | โครงการมารีน่า | th |
dc.subject | Ban Ao Kung Mangrove Forest Conservation Group | en |
dc.subject | Public channel dredging | en |
dc.subject | Marina Project | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Administrative and support service activities | en |
dc.title | Conflicts between the Pa Khlok Subdistrict Municipality and the Ban Ao Kung Mangrove Forest Conservation Group: A Case of Public Channel Dredging in water channels at Pa- Pa Khlok Subdistrict, Thalang District, Phuket Province (2019 to 2022) | en |
dc.title | ความขัดแย้งระหว่างเทศบาลตำบลป่าคลอกกับกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านอ่าวกุ้ง กรณีการขุดลอกร่องน้ำสาธารณประโยชน์ในตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต (พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ. 2565) | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Thasothorn Tootongkam | en |
dc.contributor.coadvisor | ธโสธร ตู้ทองคำ | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Master of Political Science in Politics and Government (M.Pol.Sc.) | en |
dc.description.degreename | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกการเมืองการปกครอง (ร.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Master of Politcal Science | en |
dc.description.degreediscipline | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2648000483.pdf | 3.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.