Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13932
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชนth_TH
dc.contributor.authorเกียรติศักดิ์ ดอกบัว, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-04-02T07:18:19Z-
dc.date.available2025-04-02T07:18:19Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13932en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้ากรณีการควบรวมกิจการโทรคมนาคม (2) ศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้ากรณีการควบรวมกิจการโทรคมนาคมของไทยเปรียบเทียบกับต่างประเทศ (3) วิเคราะห์ปัญหามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้า กรณีการควบรวมกิจการโทรคมนาคม (4) เสนอแนะมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้ากรณีการควบรวมกิจการโทรคมนาคมที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการผูกขาดทางการค้าและคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคให้มีประสิทธิภาพตามหลักสากล การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการศึกษาวิจัยด้วยเอกสารด้วยการศึกษาและค้นคว้าจากตัวบทกฎหมายตำรา และวิทยานิพนธ์จากสถาบันต่าง ๆ บทความจากวารสาร เอกสารประกอบการสัมมนา เอกสารประกอบการเรียนและการสอน ข้อมูลจากอินเตอร์เนต และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า (1) แนวคิด และทฤษฎีที่สำคัญมุ่งส่งเสริมไม่ให้เกิดการควบรวมกิจการที่นำไปสู่การผูกขาดทางการค้า เพื่อให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรมและคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค (2) กฎหมายการแข่งขันทางการค้าของไทยมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการควบรวมกิจการไว้โดยเฉพาะ แต่นำมาใช้กับการควบรวมกิจการโทรคมนาคมไม่ได้เพราะหน่วยงานกำกับดูแลมีดุลพินิจในการออกข้อกำหนดเกี่ยวกับการควบรวมกิจการได้เองแตกต่างจากสหรัฐเมริกาและสหภาพยุโรปที่ใช้กฎหมายแข่งขันทางการค้าภายใต้บทบัญญัติเดียวกัน และมีหน่วยงานอื่นของรัฐและประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบังคับใช้กฎหมายแข่งขันทางการค้า (3) กฎหมายการแข่งทางการค้าของไทยในปัจจุบันนำมาบังคับกับการควบรวมกิจการโทรคมนาคมโดยตรงไม่ได้ และหน่วยงานที่กำกับดูแลไม่มีมาตรการที่ชัดเจนส่งผลให้เกิดการควบรวมที่ฝ่าฝืนหลักกฎหมายการแข่งขันทางการค้าและลิดรอนสิทธิของผู้ใช้บริการ และ (4) การควบรวมกิจการโทรคมนาคมของไทยมีแนวโน้มนำไปสู่การผูกขาดและฝ่าฝืนหลักกฎหมายทางการค้า จึงควรแก้ไขพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2560 ให้นำมาใช้กับการควบรวมกิจการโทรคมนาคมได้โดยตรง และแยกอำนาจการพิจารณาการควบรวมออกมาจากหน่วยงานที่กำกับดูแลรวมทั้งบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวกับการควบรวมให้ชัดเจนยิ่งขึ้นเพื่อป้องการผูกขาดทางการค้าที่ก่อให้เกิดการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม และคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโทรคมนาคม--การรวมกิจการth_TH
dc.subjectการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจth_TH
dc.titleมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้ากรณีการควบรวมกิจการโทรคมนาคมth_TH
dc.title.alternativeLegal measures on trade competition in the case of telecom mergersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to, (1) Study the theoretical concepts behind trade competition laws as pertain to telecom mergers ( 2) Study and compare trade competition laws as pertain to telecom mergers in Thailand and abroad ( 3) Analyze problems that are present in trade competition laws as pertain to telecom mergers (4) Suggest appropriate legal measures regarding trade competition in the case of telecommunications mergers to prevent trade monopolies and protect consumer rights e ffectively according to international principles. This independent study is qualitative research, utilizing documents research through a study of legal codes, academic textbooks, academic theses sourced from credible institutions, articles from academic journals, documentary materials from an academic sem inar, teaching materials in relevant academic subjects, information from the internet and other documents written in both Thai and foreign languages. The results of the study revealed that (1) Important concepts and theories aim to prevent mergers and acquisitions that lead to trade monopolies in order to create fair competition and protect consumer rights. (2) Thai competition law has specific provisio ns regarding mergers and acquisitions. But it cannot be applied to telecommunications mergers and acquisitions. This is because regulatory agencies have the discretion to issue their own regulations regarding mergers and acquisitions. Such cases are differ ent from The United States and the European Union use competition law under the same provisions, and other government agencies and citizens are involved in enforcing competition law. (3) Currently, Thailand's competition law cannot directly govern telecomm unications mergers and acquisitions. and the regulatory agencies do not have clear measures resulting in mergers that violate the principles of competition law, which deprive users of the rights. and (4) Solving the problem of telecommunications mergers th at tend to lead to monopolies and violating the principles of Thai trade law is The Trade Competition Act 2017 should be amended to apply directly to telecommunications mergers and to separate the power to consider mergers from the regulatory agencies. Including making the law regarding mergers to be clearer in order to prevent trade monopolies that cause unfair co mpetition and to further protect consumer rights.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons