Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1472
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.contributor.authorศรีสุดา พรมพิมพ์, 2516--
dc.date.accessioned2022-09-13T03:14:36Z-
dc.date.available2022-09-13T03:14:36Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1472-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล เศรษฐกิจ และสังคม (2) ปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกบการผลิตมังคุดตามระบบเกษตรอินทรีย์ (3) แรงจูงใจในการผลิตมังคุดตามระบบเกษตรอินทรีย์ (4) ความคิดเห็นตอการผลิตมังคุดตามระบบเกษตรอินทรีย์ และ (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตมังคุดตาม ระบบเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรผลการศึกษา พบว่า (1) เกษตรกรสวนใหญเป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 52.53 ปี จบประถมศึกษา มี ประสบการณ์การผลิตมังคุดเฉลี่ย 21.51 ปี และการผลิตมังคุดอินทรีย์ เฉลี่ย 6.61 ปี พื้นที่ผลิตมังคุดทั้งหมดเฉลี่ย 6.17 ไร แรงงานเกษตรในครัวเรือนเฉลี่ย 2.15 คน แรงงานรับจ้างเฉลี่ย 2.26 คน ต้นทุนการผลิตมังคุดทั่วไปเฉลี่ย 2,967.27 บาทต่อไร่ มีรายได้จากมังคุดทั่วไปเฉลี่ย 77,484.52 บาทต่อปี มีหนี้สินเฉลี่ย 134,363 บาทต่อครอบครัว มีการ ติดต่อสื่อสารกนโดยเฉลี่ยจำนวน 2.51ครั้งใน 1 เดือน มีการติดต่อสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ฯ โดยเฉลี่ยใน 1 เดือน 1.09 ครั้ง ได้รับข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับการผลิตพืชอินทรีย์ 1.23 ครั้งต่อเดือน ได้รับประสบการณ์การฝึกอบรมเกษตรอินทรีย์โดย เฉลี่ยใน 1 ปีจำนวน 1.37 ครั้ง (2) ในภาพรวมเกษตรกรมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกบการผลิตมังคุด อินทรีย์อยู่ระดับปานกลาง โดยเกษตรกรเห็นว่าประเด็นด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องอยู่ ระดับมาก (3) แรงจูงใจในการผลิตมังคุดตามระบบเกษตรอินทรีย์ โดยรวมอยู่ระดับปานกลาง แรงจูงใจด้านความ มุ่งมั่นและการยอมรับการผลิตมังคุดอินทรีย์อยู่ระดับค่อนข้างสูงมี 2 ประเด็น (4) ความคิดเห็นในการผลิตมังคุดตาม ระบบเกษตรอินทรีย์อยู่ในระดับเห็นด้วย เกษตรกรมีความคิดเห็นอยู่ระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง มี 2 ประเด็น (5) เกษตรกร มีปัญหาเกี่ยวกบการผลิตมังคุดอินทรีย์ในภาพรวมอยู่ระดับปานกลาง เกษตรกรมีปัญหาในการผลิตมังคุดตามระบบ เกษตรอินทรีย์อยู่ระดับมาก 3 ประเด็น คือ ไม่มีตลาดรองรับผลผลิต พ่อค้ากดราคา สินค้าล้นตลาด เกษตรกรมี ข้อเสนอแนะวาควรจัดให้มีตลาดรับซื้อผลผลิตมังคุดตามระบบเกษตรอินทรีย์ในพืนที่ มีมาตรการป้องกันพ่อค้ากด ราคา ถ่ายทอดความรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์ตอการทำเกษตรอินทรีย์ในทุกด้านอย่างต่อเนื่อง ให้มี สวัสดิการสำหรับเกษตรกรที่ผลิตมังคุดตามระบบเกษตรอินทรีย์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.332-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมังคุด--การผลิต--ไทย--จันทบุรีth_TH
dc.subjectเกษตรอินทรีย์--ไทย--จันทบุรีth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--จันทบุรีth_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตมังคุดตามระบบเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรในตำบลอ่างคีรี อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to Mangosteen production in organic agricultural system by famers in Angkhiri Sub-district, Makham District, Chanthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.332-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130286.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons