Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1510
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารยา ประเสริฐชัย | th_TH |
dc.contributor.author | วิษณุ อนิลบล, 2532- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-14T06:57:42Z | - |
dc.date.available | 2022-09-14T06:57:42Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1510 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ และ 3) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดชุมพร ประชากร คือ ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ขึ้นทะเบียนในคลินิกรับยาต้าน ไวรัสของโรงพยาบาลรัฐทั้งหมดในจังหวัดชุมพรจำนวน 2,485 คน สุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบ หลายขั้นตอน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 260 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมีค่าความ เที่ยงเท่ากับ 0.7 ใช้สถิติเชิงพรรณนาและเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ข้อมูลผลจากการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ความแตกต่างของ อาชีพ รายได้ต่อเดือน และการได้รับการสนับสนุนจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์พบวาค่าเฉลี่ยของคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพด้านความสัมพันธ์ทางสังคมและด้านสิ่งแวดล้อม ในโรงพยาบาลขนาดใหญ่มีค่ามากกว่าโรงพยาบาลขนาดเล็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้นการให้การดูแลรักษากลุ่มผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่มีคุณภาพและการส่งเสริมการเพิ่มรายได้จะทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีมากขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ผู้ติดเชื้อเอชไอวี--ไทย--ชุมพร | th_TH |
dc.subject | โรคเอดส์--ผู้ป่วย--ไทย--ชุมพร | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิต--ไทย--ชุมพร | th_TH |
dc.title | การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลของรัฐ ในจังหวัดชุมพร | th_TH |
dc.title.alternative | A comparison of quality of life among HIV/AIDS patients attending government hospitals in Chumphon Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive study were (1) to investigate the quality of life of HIV-infected and AIDS (HIV/AIDS) patients, (2) toassess factors related to their quality of life, and (3) to compare the quality of life of HIV/AIDS patients in large and small government hospitals in Chumphon province. The population of this study included 2,485 HIV/AIDS patients who were treated in government hospitals in the province; of all such patients, 260 were selected using the multistage sampling method to take part in the study. A questionnaire with the reliability coefficient of 0.7 was used for data collection; and the data obtained were analyzed with descriptive and inferential statistics. The results revealed that: (1) among all respondents, their quality of life in overall health domain was at the moderate level; (2) factors significantly associated with the patients’ quality of life were occupations, monthly income and support provided by local administrative organizations; and (3) by comparison, the mean quality of life (health, social and environmental aspects) of HIV/AIDS patients attending large government hospitals was significantly higher than that at small hospitals in the province. Thus, the provision of quality treatment together with the promotion of income for HIV/AIDS patients will improve their quality of life | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พรทิพย์ กีระพงษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_159386.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License