Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1517
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มาลี ล้ำสกุล | th_TH |
dc.contributor.author | อุษา สังวาลย์, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-15T02:17:16Z | - |
dc.date.available | 2022-09-15T02:17:16Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1517 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา ปริญญาตรี สาขาการศึกษาปฐมวัยคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ (2) เปรียบเทียบ การใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษาปริญญาตรี สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ และ (3) ปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าของ นักศึกษาปริญญาตรี สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาปริญญาตรี สาขาการศึกษา ปฐมวัย หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต 5 ปี ภาคปกติคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ จำนวน 6 แห่ง ซึ่งเป็นนักศึกษาที่ลงทะเบียนในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2558 จำนวน 327 คน ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนของจำนวนนักศึกษาแต่ละมหาวิทยาลัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียวและวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) นักศึกษาปริญญาตรี สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ โดยรวมใช้สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสืออ่านประกอบ หนังสือ ความรู้ทั่วไป วารสารสารานุกรมศึกษาศาสตร์ วารสารวิทยาจารย์ จุลสาร และใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ประเภทฐานข้อมูล Academic Search Complete ในระดับมากที่สุด (2) การเปรียบเทียบการใช้สารสนเทศนักศึกษาของแต่ละมหาวิทยาลัย ใช้สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่มีความแตกต่าง อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 การเปรียบเทียบการใช้แหล่งสารสนเทศ พบว่า นักศึกษาใช้แหล่งสารสนเทศ ที่เผยแพร่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมากที่สุด การเปรียบเทียบการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ พบว่า นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาและมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครใช้หนังสือในระดับมากที่สุด นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ใช้หนังสือบันเทิงคดีในระดับมากที่สุด นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ใช้วารสารสาขาการศึกษามากที่สุด และ (3) ปัญหาในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ กลุ่มรัตนโกสินทร์ คือ ทรัพยากรสารสนเทศไม่เพียงพอ และระบบคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขัดข้องบ่อย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.46 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สารสนเทศ--การศึกษาการใช้ | th_TH |
dc.title | การใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษาปริญญาตรี สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ | th_TH |
dc.title.alternative | Information use in the study process by the Early Childhood Education UnderGraduate Students at the Faculties of Education, Rajabhat Universities, the Rattanakosin Group | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2017.46 | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to (1) study information use (2) compare it and (3) explore its problematic use by undergraduate students in the field of Early Childhood Education at Rajabhat Universities, the Rattanakosin Group. The survey research was conducted with 327 Early Childhood Educational students in the 5-year regular Bachelor of Education program at six Rajabhat Universities of the Rattanakosin Group who enrolled in the second semester of the academic year 2015. They were selected based on stratified random sampling according to the proportion of each university’s undergraduate students. The statistics used for data analysis were percentages, means, standard deviation, one-way ANOVA and Scheffe’s method. The key findings were as follows: (1) the students from all universities used supplementary reading materials, general knowledge books, Encyclopedia of Education, Journal of Withayajarn, pamphlets, electronic database-Academic Search Complete-at the highest level. (2) No significant differences in terms of information use of printed materials, audiovisual materials and electronic materials were found at the level of 0.05. For the comparison of the use of information sources, it was found that the student respondents relied most heavily on online information sources. Regarding the information resources, additionally, Chandrakasem Rajabhat University students, Bansomdejchaopraya Rajabhat University students and Phranakhon Rajabhat University students used books the most. Suan Dusit University students used fictions the most, and Suan Sunandha Rajabhat University students preferred educational journals the most. Finally, (3) the major problems faced by the students using the library and Information Technology Center of Rajabhat Universities, the Rattanakosin Group were related to the insufficiency of information resources and the connectivity related problems of the computer network system. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib159407.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License