Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1574
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตตินันท์ เดชะคุปต์th_TH
dc.contributor.authorบุญฤทธิ์ แทนบุญ, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-16T03:58:39Z-
dc.date.available2022-09-16T03:58:39Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1574en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาพฤติกรรมและผลกระทบของครอบครัวจากการซื้อหวย เป็นการวิจัขเชิงคุณภาพ ที่มีผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ กลุ่มครอบครัว จำนวน 9 ครอบครัว และกลุ่มคนในชุมชน จำนวน 13 คน วิธีดำเนินการวิจัย ได้แก่ การเก็บข้อมูลจากเอกสารและการเก็บข้อมูลในภาคสนาม เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แนวการสัมภาษณ์เชิงลึก และแนวการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและการตีความตามประเด็นพฤติกรรมและผลกระทบจากการซื้อหวยของครอบครัว ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการซื้อหวย แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทได้แก่ 1) ประเภทเสพติดหวย จะเป็นประเภทที่มีการซื้อหวยทุกงวด และมีแนวโน้มจะซื้อเพิ่มสูงขึ้น 2) ประเภทหาสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ จะเป็นประเภทที่มีการซื้อหวยในบางงวด เป็นการหาทางออกให้กับตัวเอง ได้แก่ ซื้อเพื่อความสนุกสนาน และได้ลุ้นกับคนอื่น 3) ประเภทการถ่ายทอดวิถีชีวิตที่ไม่ถูกต้องและมีการบิดเบือนวัฒนธรรมความเชื่อที่ผิด ๆ ประเภทนี้เป็นการซื้อหวยตามตัวแบบหรือต้นแบบที่ตนเองได้สัมผัสมา และ 4) ประเภทยึดงินรางวัลป็นที่ตั้ง เป็นประเภทที่ตั้งความหวังไว้ที่ความร่ำรวยจากการซื้อหวย ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการซื้อหวยของครอบครัว พบว่า มีผลกระทบใน 4 ด้าน คือ 1. ผลกระทบด้านสังคม ได้แก่ 1) สิ่งแวดล้อมรอบข้างที่เอื้ออำนวย 2) การบริหารความเสี่ยงด้านข้อมูลร่วมกัน 3) เกิดเครือข่ายของผู้ซื้อและผู้ขายในชุมชน 4) ผู้บริโภคถูกเอารัดเอาเปรียบจากคนขายหวย หรือเจ้ามือหวย 5) ความล้มเหลวของหน่วยงานภาครัฐ และ 6) เกิดอำนาจมืด 2. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ ) มีความต็มใจใช้จ่ายโดยไม่ใช้เหตุผล 2) เกิดภาวะเศรษฐกิจชะงัก 3) เสถียรภาพทางเศรษฐกิของครอบครัวไม่มั่นคง และ 4) มีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น 3. ผลกระทบด้านสุขภาพ ได้แก่ 1) เกิดความทุกข์มากกว่าความสุข 2) เกิดอารมณ์ที่แปรปรวน และ 3) เกิดภาวะโภชนาการเกิน และ 4. ผลกระทบด้านวัฒนธรรม ได้แก่ 1) มีการถ่ายทอดวิถีชีวิตที่ไม่ถูกต้อง และ 2) สังคมมีการบิดเบือนวัฒนธรรมที่ผิด ๆ เกี่ยวกับการซื้อหวยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพนันth_TH
dc.subjectการติดการพนัน--แง่จิตวิทยา--ไทยth_TH
dc.subjectถั่วโปและหวยth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อหวยและผลกระทบต่อครอบครัวth_TH
dc.title.alternativeLottery buying behavior and its effects on familiesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameคหกรรมศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.contributor.coadvisorวัลภา สบายยิ่งth_TH
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161793.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons