Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1599
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, อาจารย์ที่ปรึกษา.th_TH
dc.contributor.authorทัศนีย์ กลิ่นหอม, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-17T08:34:15Z-
dc.date.available2022-09-17T08:34:15Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1599-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในไตแบบเปิดในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 2) ประเมินผลรูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในไตแบบเปิดที่พัฒนาขึ้นที่มีต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง ความพึงพอใจของผู้ป่วย และจำนวนการกลับมารักษาซํ้าในโรงพยาบาลของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในไตแบบเปิดในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ กลุ่มตัวอย่างได้รับการเลือกแบบเจาะจง จำแนกเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักที่เข้าสนทนากลุ่มในระยะการศึกษาสภาพการณ์และปัญหาและการพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายเป็นพยาบาลวิชาชีพในหอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์จำนวน 10 คน และ 2) กลุ่มตัวอย่างในระยะการประเมินผลรูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในไตแบบเปิดที่พัฒนาขึ้น เป็นผู้ป่วยที่ไต้รับการผ่าตัดนิ่วในไตแบบเปิดและเข้าพักรักษาที่หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบจำนวนกลุ่มละ 31 คน รวม 62 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) เครื่องมือที่ใช้ดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย แนวคำถามการสนทนากลุ่ม และรูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในไต โดยมีคู่มือการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วย คู่มือแผนการสอนผู้ป่วย และแผ่นพับความรู้โรคนิ่วในไตและการดูแลตนเองภายหลังผ่าดัด และ 2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสัมภาษณ์ความพึงพอใจของผู้ป่วย เครื่องมือทั้งหมดได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ซึ่งแบบสัมภาษณ์ทั้งสองชุดมีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.95 และ 0.89 ตามลำดับ และมีค่าสัมประสิทธิอัลฟาของครอนบาซเท่ากับ 0.75 และ 0.82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์เนื้อหา และสถิติที่ในกลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) รูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในไตพัฒนาขึ้น โดย บูรณาการแนวคิดของแมคดียาน (McKeehan, 1981) และกิจกรรมตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D ประกอบด้วยกระบวนการ 5 ขั้นตอนคือการประเมินปัญหาและความต้องการความช่วยเหลือของผู้ป่วยและญาติการวินิจฉัยปัญหาทางการพยาบาล การกำหนดแผนจำหน่าย การปฏิบัติการพยาบาลตามแผน และการประเมินผลการพยาบาล 2) ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในไตแบบเปิดที่ใช้รูปแบบการวางแผนจำหน่ายที่พัฒนาขึ้นมีพฤติกรรมการดูแลตนเองและความพึงพอใจในบริการสูงกว่าผู้ป่วยที่ได้รับบริการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) จำนวนการกลับมารักษาซํ้าในโรงพยาบาลหลังใช้รูปแบบที่พัฒนาขึ้นต่ำกว่าก่อนใช้รูปแบบที่พัฒนาขึ้นร้อยละ 12.9th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.50-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--การรับและการจำหน่ายผู้ป่วยth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในไตโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์th_TH
dc.title.alternativeThe development of a discharge planning model for patients with kidney stone surgery at Sunpasitthiprasong Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.50-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of his research and development study were: 1) to develop a discharge planning model for patients who received open kidney stones surgery at Sunpasitthiprasong hospital, 2) to evaluate the developed discharge planning model for patients who received open kidney stones surgery on self-care behaviors, patient satisfaction, and 3) to investigate the readmission number of patients receiving open kidney stones surgery at Sunpasitthiprasong hospital. The purposive samples were composed of 2 groups. 1) The first group was key informants of a group discussion in the stage of problem identification and model development included 10 registered nurses from the Urology Ward in Sunpasitthiprasong hospital. 2) The second group, participating in the evaluating stage, included 62 patients who admitted at the urology ward in Sunpasitthiprasong hospital. The latter sample was divided into an experimental group and a compared group. The experimental tools composed of 1) focus group question guidelines and the developed discharge planning model which were composed of a patient discharge planning manual, an education planning manual, brochures about kidney stones, and self-care after post operation. The data collection tool composed of two questionnaires: the self-care behavior assessment questionnaires and patient satisfaction questionnaires. All research tools were validated for content validity by 5 experts. The content validity index of both interview questionnaires were 0.95 and 0.89 respectively. The Cronbach alpha coefficient of both tools were 0.75 and 0.82 respectively. Data was analyzed by descriptive statistics, content analysis and independent t- test. The major findings were as follows. 1) The discharge planning model for patients who received kidney stones surgery was developed based on McKeehan’s concept (1981) and the D-M-E-T-H-O-D model included a process of 5 steps. These were problems and needs assessment for patients and their relatives, nursing diagnosis, determining discharge planning, implementation of the established plan, and nursing evaluation. 2) Patients who received the developed discharge planning rated their self-care behaviors and satisfaction statistically higher than patients who received routine nursing care at the .05 level. 3) The readmission number after using the developed model was less than before using the developed model at 12.9 percenten_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159450.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons