Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1625
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์ | th_TH |
dc.contributor.author | แมนสรวง สุรางครัตน์, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-22T08:45:09Z | - |
dc.date.available | 2022-09-22T08:45:09Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1625 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการเลือกช่องทางในการฟังเพลงไทยสากล 2) พฤติกรรมการฟังเพลงไทยสากล และ 3) เปรียบเทียบลักษณะทางประชากรกับการเลือกช่องทางในการฟังเพลงไทยสากลของผู้บริโภค Gen Y และ Gen Z ในกรุงเทพมหานคร การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจกลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนในกรุงเทพมหานครที่มีอายุ ระหว่าง 15-35 ปี จํานวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือวิจัยคือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการทดสอบคู่ต่างโดยวิธี LSD ผลการวิจัย พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เลือกฟังเพลงไทยสากล ผ่านช่องทางที่อาศัยอินเทอร์ เน็ตเป็นพื้นฐาน โดยกลุ่มตัวอย่างมี ความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง ในเงื่อนไขด้านการจดจําของช่องทาง เพราะเป็น “ช่องทางที่ใช้งานง่าย ทําให้จดจําได้ง่าย” 2) กลุ่มตัวอยางส่วนใหญ่ฟังเพลงไทยสากลมากกวา 3 ครั้งต่อวัน ใช้ระยะเวลาในการฟัง 1-2 ชั่วโมงต่อวัน เลือกฟังเพลงไทยสากลผ่านช่องทางยูทูบ และ 3) เพศ อายุ และรายได้ของผู้บริโภค Gen Y และ Gen Z ในกรุงเทพมหานคร ที่แตกต่างกันมีการเลือกช่องทางในการฟังเพลงไทยสากลแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.14 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเลือกของผู้บริโภค--เพลงและดนตรี | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.subject | ดนตรีกับอินเทอร์เน็ต--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.title | การเลือกช่องทางในการฟังเพลงไทยสากลของผู้บริโภค Gen Y และ Gen Z ในกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Channels selection behavior for listening to modern Thai music of Gen Y and Gen Z consumers in Bangkok | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2018.14 | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) channels which Gen Y and Gen Z consumers in Bangkok usually choose for listening to modern Thai music; 2) their listening behavior; and 3) the relationships between demographic factors and consumers’ selection of channels for listening to modern Thai music. This was a survey research. The sample group was 400 residents of Bangkok age between 15-35 years old, the sample was chosen through multi-stage sampling method. Data was collected using questionnaire and statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, t test, ANOVA and LSD. The results showed that 1) Most of the sample listened to modern Thai music on an Internet based platform. The majority strongly agreed with the conditions of recollection of listening channels and they most strongly agreed that “channels that are easy to use are easy to recollect.” 2) Most of the samples listened to modern Thai music more than 3 times a day and listened for 1-2 hours per day. They mostly chose to listen on Youtube. 3) There was a statistically significant (p>0.05) difference between the variable of sex, age group, and income group of Gen Y and Gen Z consumers in Bangkok and their selection of channels for listening to modern Thai music | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ | th_TH |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib159683.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License